Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2206
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเฉลิมพล จตุพร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorธนาภรณ์ ผ่องศรี-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2022-11-22T02:12:25Z-
dc.date.available2022-11-22T02:12:25Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2206-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พยากรณ์ปริมาณส่งออกข้าวไทยไปยังประเทศจีน และ (2) ประเมินผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) การศึกษาใช้ข้อมูลอนุกรมเวลารายเดือน เริ่มตั้งแต่เดือนมกราคม พ.ศ. 2543 ถึงเดือนเมษายน พ.ศ. 2563 รวมข้อมูล 244 เดือน โดยการพยากรณ์และประเมินผลกระทบได้ประยุกต์ใช้วิธีการของบ็อกซ์-เจนกินส์ หรือแบบจําลอง SARIMA ซึ่งมีเงื่อนไขว่า (1) การพยากรณ์เริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภาคมถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2563 รวม 8 เดือน และ (2) การประเมินผลกระทบจากสถานการณ์โควิต-19 จะพยากรณ์ปริมาณส่งออกข้าวไทยไปจีน ในช่วงเดือนมกราคมถึงเดือนเมษายน พ.ศ. 2563 ภายใต้ข้อสมมติว่าปริมาณส่งออกข้าวไทยไปจีนไม่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โควิด-19 แล้วจึงเปรียบเทียบกับข้อมูลจริงเพื่อคำนวณเป็นปริมาณความสูญเสียจากสถานการณ์โควิด 19 ต่อไป ต่อปริมาณส่งออกข้าวไทยไปจีน ผลการศึกษาพบว่า (1) การส่งออกข้าวไทยไปจีนในช่วงเดือนพฤษภาคมถึงธันวาคม พ.ศ. 2563 มีแนวโน้มขยายตัวขึ้นร้อยละ 35.70 เมื่อเปรียบเทียบกับช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา และ (2) การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในช่วงเดือนมกราคมถึงเดือนเมษายน พ.ศ. 2563 สร้างความสูญเสียต่อการส่งออกข้าวไทยไปจีนเป็นปริมาณเท่ากับ 47,210 ตัน โดยตัวแบบพยากรณ์และประเมินผลกระทบ คือ แบบจําลอง SARIMA(2,0,4)(1,1,0)12.th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectข้าว--การส่งออก--พยากรณ์.--ไทยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เศรษฐศาสตร์ธุรกิจth_TH
dc.titleการพยากรณ์ปริมาณการส่งออกข้าวไทยไปจีน ปี 2563 : กรณีศึกษาเชิงประจักษ์ด้วยวิธีการทางอนุกรมเวลาth_TH
dc.title.alternativeForecasting the export quantity of Thai rice to China in 2020 : the empirical study using time series methodth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameเศรษฐศาตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study are 1) to forecast the quantity of Thai rice exported to China and (2) to assess the impact of Coronavirus disease (COVID-19) situation on the quantity of Thai rice exported to China. The study used monthly time series data from January 2000 to April 2020, 244 months. To forecast and assess the impact, the method of Box - Jenkins or the SARIMA model were utilized under the following conditions; (1) the forecast period from May to December 2020, 8 months and (2) the COVID-19 impact assessment was to forecast the quantity of Thai rice exported to China, during January to April 2020, under the assumption that Thai rice exported to China was not affected by COVID-19 situation. The forecasted data was then compared to the actual data to calculate the loss incurred from the Covid-19 situation. The results of the study discovered that (1) Thai rice exported to China during May to December 2020 was increased by 35.70% compared to the same period in the previous year, and (2) the Coronavirus disease pandemic during January to April 2020 caused the loss of 47,210 tons of Thai rice exported to China, shown by the forecasting and impact assessing model, namely SARIMA (2,0,4)(1,1,0)12 modelen_US
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
165991.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.06 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons