Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2219
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอภิญญา วนเศรษฐ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorปิ่นทอง เฉิดฉาย-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2022-11-24T03:19:57Z-
dc.date.available2022-11-24T03:19:57Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2219-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความสัมพันธ์เชิงดุลยภาพในระยะยาวของ ปริมาณเงิน อัตราดอกเบี้ยนโยบายและดัชนีราคาผู้บริโภคทั่วไปของประเทศไทย 2) ศึกษาความสัมพันธ์ เชิงเหตุและผลระหว่างปริมาณเงิน อัตราดอกเบี้ยนโยบาย และดัชนีราคาผู้บริโภคทั่วไปของประเทศไทย การศึกษานี้เป็นการศึกษาความสัมพันธ์ของ 3 ตัวแปรคือ ปริมาณเงิน อัตราดอกเบี้ย นโยบาย และ ดัชนีราคาผู้บริโภคทั่วไปของประเทศไทย ซึ่งใช้ข้อมูลทุติยภูมิ ประเภทอนุกรมเวลา แบบรายไตรมาสตั้งแต่ไตรมาสที่หนึ่งปี 2545 ถึงไตรมาสที่สี่ปี 2555 โดยทำการทดสอบความนิ่ง ของข้อมูล (Unit root test) โดยวิธี Augmented Dickey–Fuller จากนั้นศึกษาความสัมพันธ์เชิงดุลย ภาพในระยะยาวด้วยเทคนิคทางเศรษฐมิติตามวิธี Cointegration และทดสอบความเป็นเหตุเป็นผล ของตัวแปรโดยวิธี Granger Causality ผลการศึกษาพบว่า 1) ข้อมูลที่นำมาทดสอบทั้งหมดมีลักษณะนิ่ง (Stationary) ที่ Order of integration เท่ากับ 1 หรือ I(1) จากการทดสอบความสัมพันธ์เชิงดุลยภาพระยะยาว ตามวิธีแบบ Johansen 1988 ผลการทดสอบพบว่า ตัวแปรทั้งหมดมีความสัมพันธ์เชิงดุลยภาพระยะยาวที่ระดับ นัยสำคัญ 0.05 2) การทดสอบความเป็นเหตุเป็นผล พบว่า ดัชนีราคาผู้บริโภคเป็นสาเหตุให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงในอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 และอัตราดอกเบี้ยนโยบายส่งผลกระทบ ต่อปริมาณเงินที่ระดับนัยสำคัญ 0.10 นั่นหมายถึง ดัชนีราคาผู้บริโภคเปลี่ยนแปลงไปจะมีผลต่อการ กำหนดอัตราดอกเบี้ยนโยบายของธนาคารแห่งประเทศไทย และการกำหนดอัตราดอกเบี้ยนโยบาย จะมีผลต่อการใช้จ่ายของประชาชนและปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจในที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectดัชนีราคาผู้บริโภค--ไทยth_TH
dc.subjectอัตราดอกเบี้ย--ผลกระทบจากเงินเฟ้อth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เศรษฐศาสตร์th_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณเงิน อัตราดอกเบี้ยนโยบายและเงินเฟ้อของประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeThe relationship between money supply, policy interest rate and inflation of Thailandth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativePurposes of this study were to: 1) study the long run relationship of money supply, policy interest rate and the consumer price index in Thailand.; 2) study cause and effect of money supply, interest rate policy and consumer price index of Thailand. The study examined the relationships among 3 variables: money supply, interest rates policy and consumer price index in Thailand by using quarterly secondary data during 2002-2012. For methodology, it stated with the data stationary test (Unit root test) by using Augmented Dickey-Fuller, followed by employing Cointegration test to investigate the long run relationships among these variables and Granger Causality test to explore the cause and effect relationships. The results showed that: 1) all variables in this study were stationary in the integration of 1 or I (1). For long run equilibrium relationship test (Johansen 1988), indicated that these variables have the relationship at the significance level of 0.05. 2) Causality test showed that consumer price index has impact on an interest rate policy at the significance level of 0.05 and this policy interest has impact on money supply at the significance level of 0.10. This means that the changing of consumer price index will affect Bank of Thailand’ decision making policy concerning interest rate policy. At the same time, the interest rate policy will have an influence on the public spending and finally on the money supply in the economyen_US
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
142300.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.2 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons