Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2222
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิทักษ์ ศรีสุขใส, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorมานัส จู่รัตนสาร-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2022-11-24T04:22:32Z-
dc.date.available2022-11-24T04:22:32Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2222-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาวิเคราะห์ความเสี่ยงและผลตอบแทน ระหว่าง CAPM และFama-French Three-Factor ของกลุ่มหลักทรัพย์บริการการแพทย์ในตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ 2) ศึกษาวิเคราะห์เปรียบเทียบประสิทธิภาพระหว่าง CAPM และ Fama-French Three-Factor ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ 23 หลักทรัพย์ของกลุ่มบริการการแพทย์ที่จดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ซึ่งเก็บรวบรวมระหว่างวันที่ 2 มกราคม พ.ศ.2557 ถึงวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ.2562 เพื่อนำมาจัด 6 กลุ่มหลักทรัพย์ตาม Fama-French Three-Factor ผลการศึกษาพบว่า 1) ค่าสัมประสิทธิ์การถดถอยของตัวแปรที่ชดเชยความเสี่ยงด้าน ตลาดจาก CAPM และ Fama-French Three-Factor มีค่าสัมประสิทธิ์สอดคล้องกัน ซึ่งค่าสัมประสิทธิ์ ของหลักทรัพย์ที่ชดเชยความเสี่ยงด้านตลาดสูงที่สุดคือ กลุ่มหลักทรัพย์มีขนาดใหญ่และมีมูลค่าทาง บัญชีต่อมูลค่าราคาตลาดต่ำ นอกจากนี้ตามแบบจำลอง Fama-French Three-Factor ปรากฎว่า ค่า สัมประสิทธิ์ของการชดเชยความเสี่ยงด้านขนาดของกลุ่มหลักทรัพย์ขนาดเล็กมีค่าสูงสุด และค่า สัมประสิทธิ์ของการชดเชยความเสี่ยงด้านมูลค่าของกลุ่มหลักทรัพย์ที่มีมูลทางบัญชีสูง มีค่าสูงสุด 2) ตัวแปรอิสระของแบบจำลอง Fama-French Three-Factor ของทุกกลุ่มหลักทรัพย์ อธิบายอัตรา ผลตอบแทนที่คาดหวังในสัดส่วนที่สูงกว่า CAPM นอกจากนี้ ค่ารากที่สองของค่าเฉลี่ย คลาดเคลื่อนกำลังสอง ( RMSE) และค่าสัมประสิทธิ์ความไม่เท่าเทียมกันของทิลล์ชนิดยู2 (Theil’s U2) ของ Fama-French Three-Factor มีต่ำที่สุด แสดงว่า ดังนั้น Fama-French Three-Factor จึงมี ประสิทธิภาพมากกว่า CAPM ในการอธิบายผลตอบแทนและความเสี่ยงหลักทรัพย์กลุ่มบริการ การแพทย์th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectความเสี่ยงth_TH
dc.subjectหลักทรัพย์--การประเมินความเสี่ยงth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เศรษฐศาสตร์ธุรกิจth_TH
dc.titleความเสี่ยงและผลตอบแทนของหลักทรัพย์กลุ่มบริการแพทย์ตาม CAPM และ Fama-French Three-factorth_TH
dc.title.alternativeRisk and returns on storck of health care service sector Following CAPM and Fama-French Three- Facftor Modelsth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to analyze risks and returns between CAPM and Fama-French Three-Factor Model for portfolios of the health care service sector in The Stock Exchange of Thailand and (2) to analyze and compare the performance between the CAPM and Fama-French Three-Factor Model. The data for the study were the 23 stocks, listed in the health care service sector registered in The Stock Exchange of Thailand, collected between 2 nd January 2014 and 31st July 2019, were managed for 6 portfolios suggested by Fama-French Three-Factor Model. The results of the study showed that 1) the variable regression coefficients representing the market risk premium obtained from CAPM and Fama-French Three-Factor model were coherent. The largest coefficient representing the market risk premium was of the large size portfolio with the low value of the book to market value ratio. Moreover, according to the FamaFrench Three-Factor model, it was revealed that the coefficient representing the size risk premium of the small size portfolio was largest. Also, the coefficient representing the value risk premium of the high book value portfolio was largest and 2) the independent variables of the Fama-French Three-Factor model for all portfolios could describe the expected returns more than CAPM. Furthermore, the Root Mean Squared Error (RMSE) and Theil's inequality coefficient U2 (Theil’s U2) of the Fama-French Three-Factor model had the lowest value. This implied that the FamaFrench Three-Factor model was more efficient than CAPM in describing the return and risk of the stocks of the health care service sectoren_US
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
164443.pdfเอกสารฉบับเต็ม64.8 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons