Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2230
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พิทักษ์ ศรีสุขใส | th_TH |
dc.contributor.author | รุ้งการณ์ ภิญโญภาพ | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-11-25T03:07:31Z | - |
dc.date.available | 2022-11-25T03:07:31Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2230 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสถานะสัญญากับปัจจัยที่มีผลต่อการชำระหนี้ ของลูกหนี้เช่าซื้อรถจักรยานยนต์ของบริษัท ตั้งใจพัฒนา (2547) จำกัด 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการชำระหนี้ ของลูกหนี้เช่าซื้อรถจักรยานยนต์ของบริษัท ตั้งใจพัฒนา (2547) จำกัด วิธีการศึกษานั้น จะเก็บข้อมูลปฐมภูมิจากการสำรวจกลุ่มตัวอย่างด้วยแบบสอบถาม จำนวน 3 ประเภท โดยกลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย พนักงานขาย 26 คน พนักงานติดตามหนี้สิน 16 คน และลูกหนี้เช่าซื้อรถจักรยานยนต์ 400 คน ซึ่งประกอบด้วยลูกหนี้ปกติ ถึง ค้างชำระ 150 วัน จำนวน 200 คน และลูกหนี้ค้างชำระมากกว่า 150 วัน ขึ้นไปจำนวน 200 คน การศึกษาครั้งนี้ได้วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ประกอบด้วย ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และทดสอบไคว์สแควร์ เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยต่างๆกับสถานะลูกหนี้ปกติ และลูกหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ และวิเคราะห์โอกาสในการเกิดลูกหนี้ปกติและลูกหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ โดยใช้แบบจำลองการถดถอยโลจิสติกพหุกลุ่ม ผลการศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยต่างๆกับสถานะสัญญาลูกหนี้ พบว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับลูกหนี้ปกติ ได้แก่ หนี้สิน และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับลูกหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ ได้แก่ เพศ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน สถาบันการเงินที่เป็นเจ้าหนี้ ประวัติการทำสัญญา การใช้รถตามวัตถุประสงค์ จำนวนหนี้คงเหลือ ทั้งนี้ผลการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกพหุกลุ่ม พบว่า รายได้เฉลี่ยต่อเดือน และจำนวนหนี้คงเหลือ ส่งผลให้ลูกหนี้สถานะสัญญาปกติเปลี่ยนแปลงในทิศทางเดียวกันเมื่อเทียบกับสถานะสัญญาค้างชำระมากกว่า 5 เดือนขึ้นไป แต่จำนวนหนี้สิน ส่งผลให้ลูกหนี้สถานะสัญญาปกติเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางตรงกันข้าม เมื่อเทียบกับสถานะสัญญาค้างชำระมากกว่า 5 เดือนขึ้นไป อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 0.01 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การชำระหนี้ | th_TH |
dc.subject | ลูกหนี้ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่มีผลต่อการชำระหนี้ของลูกหนี้เช่าซื้อรถจักรยานยนต์ของ บริษัท ตั้งใจพัฒนา (2547) จำกัด | th_TH |
dc.title.alternative | Factors affecting the repayment of motorcycle leasing for Tangjaipattana (2547) Company Limited | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objective of this research were1) to study the different types of contracts affecting the motorcycle leasing repayment of Tangjai (2547) Co.,Ltd. Receivables 2) to study the factors affecting the motorcycle leasing repayment of Tangjai (2547) Co.,Ltd. The method of this study was the survey to collect primary data from samples by three types of questionnaire. The samples were actually composed of 26 salesmen, 16 collectors, and 400 motorcycle leasing receivables. Such study analyzed the data by normally using descriptive statistics and multinomial logistic regression. The standard statistics was based on the commutative frequency, percentage, mean, and chi-square testing to find the relationship between significant factors and normal receivables, and non-performing receivables. Moreover, the multinomial logistic regression model applied to discover a chance to be normal receivables and non-performing receivables. The results of research concerning factors with receivables status shown that debt factor was related to normal receivables, and factors which were related to non-performing receivables consisted of gender , average monthly income , financial institutions creditors, contract history , vehicle usage in purpose , and total of debt balancing. Moreover, the resulting of multinomial logistic regression analysis displayed that average monthly income and balancing of debt had impact on normal receivables status in the same direction comparing with the receivables status of more than five month overdue. On the contrary, total debts balancing affected change in receivables status to the opposite direction comparing to the receivables status of more than five month overdue with a significant level 0.05. | en_US |
Appears in Collections: | Econ-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
163290.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 13.7 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License