Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2234
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอนุชา ภูริพันธุ์ภิญโญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorศิวัชญา กาสนุก, 2513--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์th_TH
dc.date.accessioned2022-11-25T06:51:03Z-
dc.date.available2022-11-25T06:51:03Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2234-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) วิเคราะห์ผลการดำเนินงาน 2) วิเคราะห์ฐานะทางการเงิน 3) วิเคราะห์ประสิทธิภาพในการบริหารการเงินของสหกรณ์เครดิตยูเน่ียนพระหฤทัย เชียงใหม่ จำกัด การศึกษาครั้งนี้เป็นการเก็บข้อมูลทุติยภูมิ โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสารรายงานงบการเงินปี 2550– 2554 โดยใช ้ CAMELS เป็นเคร่ืองมือในการวิเคราะห์ซึ่งประกอบไปด้วย C: ความเพียงพอของเงินทุนต่อความเสี่ยง, A: คุณภาพสินทรัพย์์ M: ความสามารถในการบริหารจัดการ, E: ความสามารถในการทำกำไร, L: สภาพคล่องทางการเงิน, S: ผลกระทบของธุรกิจ และนำผลการวิเคราะห์มาเปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานของกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ผลการศึกษาพบวา่ 1) ผลการดำเนินงานของสหกรณ์เครดิตยูเนียนพระหฤทัย เชียงใหม่ โดยภาพรวมมีแนวโน้ม เพิ่มขึ้นประกอบด้วยจำนวนสมาชิก สินทรัพย์ท้งสิ้น และทุนของสหกรณ์ 2) ฐานะทางการเงินของสหกรณ์ด้านสินทรัพย์พบว่า ตลอดระยะเวลา 5 ปี มีการเปลี่ยนแปลง คือสินทรัพย์หมุนเวียนของสหกรณ์เพิ่มขึ้นใขณะเดียวกัน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนกลับลดลงด้านหนี้สิน พบว่าหนี้สินหมุนเวียนของสหกรณ์มีการเปลี่ยนแปลง คือ หนี้สินหมุนเวียนลดลง ด้านทุนพบว่า ส่วนผสมของทุนในรอบ 5 ปี ท่ีผ่านมาได้มีการเปลี่ยนแปลง คือ ทุนเพิ่มขึ้น 3) ประสิทธิภาพในการบริหารการเงินของสหกรณ์มีสภาพคล่องที่ดี อัตราส่วนหนี้สินต่อทุนต่ำ อัตราส่วนร้อยละของรายได้ต่อสินทรัพย์ทั้งสิ้นต่ำ แสดงถึงการใช้ประโยชน์จากสินทรัพย์ไ์ม่เต็มประสิทธิภาพอัตรากำไรข้นต้นสูงแสดงว่า สหกรณ์สามารถควบคุมต้นทุนทางด้านการเงินอยู่ในเกณฑ์ที่ดีมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนพระหฤทัยเชียงใหม่ จำกัดth_TH
dc.subjectสหกรณ์--การเงิน.--ไทยth_TH
dc.subjectสหกรณ์ออมทรัพย์--การเงิน.--ไทยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สหกรณ์th_TH
dc.titleการวิเคราะห์ผลการดำเนินงานและฐานะทางการเงินของสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนพระหฤทัยเชียงใหม่ จำกัดth_TH
dc.title.alternativeAnalysis of the performance and financial status of Chiang Mai Sacred Heart Credit Union Cooperative Ltd.th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สหกรณ์)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe study objectives were 1) to analysis the cooperative business performance 2) to analysis the financial status 3) to analysis the efficiency of financial management of credit union cooperatives. The study methodology was applied the secondary data collected from the annual financial report from 2550 to 2554. CAMELS model was applied as the tool for study which composed of Capital sufficiency: C, the quality of asset: A, the ability of management: M, the ability of profit earning: E, the financial liquidity: L, the sensitivity: S, compared with the standard numbers as the peer group. The study showed that 1) the credit union cooperatives business performance had been faced with the increasing trend, which composed of the increasing in numbers of cooperatives members, total assets, the ownership as capital. 2) since last 5 years, the financial status of cooperatives had been changed: the cooperatives assets had been changed which composed of current assets while the fixed assets had been decreased, decreasing debt had been decreased, current debt had been decreased also, but the ownership as capital had been increased. 3) the efficiency of cooperatives financial management performed in a good shape, the small proportion of debt per asset, the percentage of income per asset was in a small proportion which expressed the under capacity of cooperatives asset utilization, the high rate of cooperatives profit expressed the efficiency of cost of financial management thoughtfully-
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext-129181.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.26 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons