Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2237
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอภิญญา วนเศรษฐ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorศิวนนท์ เลียบศิรินนท์-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2022-11-25T07:29:36Z-
dc.date.available2022-11-25T07:29:36Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2237-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความสัมพันธ์ของอัตราแลกเปลี่ยนและ ดุลการค้าระหว่างประเทศสหรัฐอเมริกากับประเทศต่างๆ ภายใต้เงื่อนไขของมาร์แชลล์-เลอร์เนอร์ 2) วิเคราะห์เปรียบเทียบผลการศึกษาเชิงประจักษ์ระหว่างประเทศพัฒนาแล้วและประเทศกำลัง พัฒนาสำหรับการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ 1) การศึกษาเชิงพรรณนา 2) การวิเคราะห์ เชิงปริมาณเพื่อทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างอัตราแลกเปลี่ยนและดุลการค้าภายใต้เงื่อนไขของ มาร์แชลล์-เลอร์เนอร์ระหว่างสหรัฐอเมริกากับประเทศคู่ค้า ประเทศต่างๆ ได้แก่ ออสเตรเลีย แคนาดา ญี่ปุ่น อังกฤษ เยอรมนี เกาหลีใต้ อินเดีย อินโดนีเซีย รัสเซีย ไทย และแอฟริกาใต้โดย ใช้ข้อมูลทุติยภูมิรายไตรมาส ช่วง พ.ศ. 2543-2556 ผลการศึกษาพบว่า 1) อัตราแลกเปลี่ยนและดุลการค้ามีความสัมพันธ์กันภายใต้เงื่อนไข ของมาร์แชลล์-เลอร์เนอร์เพียง 3 ประเทศ ได้แก่ แคนาดา รัสเซีย และไทย ซึ่งผลรวมค่าสัมบูรณ์ ความยืดหยุ่นของอุปสงค์สินค้านำเข้าและอุปสงค์สินค้าส่งออกมีค่ามากกว่า 1 โดยมีค่าเท่ากับ 1.313581, 3.673422และ1.294747 ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ตามลำดับ ส่วนประเทศอื่นๆ ได้แก่ ออสเตรเลีย ญี่ปุ่น อังกฤษ เยอรมนี เกาหลีใต้ อินเดีย อินโดนีเซีย และแอฟริกาใต้ผลรวมค่า สมบูรณ์ความยืดหยุ่นของอุปสงค์สินค้านำเข้าและอุปสงค์สินค้าส่งออกมีค่าน้อยกว่า 1 2) เมื่อ เปรียบเทียบความสัมพันธ์ระหว่างอัตราแลกเปลี่ยนและดุลการค้าภายใต้เงื่อนไขของมาร์แชลล์- เลอร์เนอร์ ในประเทศพัฒนาแล้วและประเทศกำลังพัฒนา พบว่า ไม่มีความแตกต่างระหว่าง ประเทศพัฒนาแล้วและประเทศกำลังพัฒนา แต่ขึ้นอยู่กับลักษณะความยืดหยุ่นของอุปสงค์สินค้า นำเข้าและอุปสงค์สินค้าส่งออกในแต่ละประเทศเป็นสำคัญth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectอัตราแลกเปลี่ยนth_TH
dc.subjectดุลการค้าth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เศรษฐศาสตร์th_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างอัตราแลกเปลี่ยนและดุลการค้าภายใต้เงื่อนไขของมาร์แชลล์-เลอร์เนอร์th_TH
dc.title.alternativeThe relationship between exchange rates and trade balance under Marshall-Lerner Conditionth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aims to examine: 1) the relationship between exchange rates and trade balance of the U.S. to other countries under The Marshall-Lerner Condition; and 2) the comparative analysis between the concerning empirical studies of developed countries and developing countries. The study was divided into two parts: 1) a description study relating to the relationship between exchange rates and trade balance; and 2) a quantitative analysis by employing multiple linear regression technique for testing the relationship between exchange rates and trade balance under Marshall-Lerner Condition of the U.S. and trade partners including Australia, Canada, Japan, United of Kingdom, Germany, South Korea, India, Indonesia, Russia, South Africa, and Thailand by using secondary data during 2000-Q1 to2013-Q4. The results showed that: 1) the exchange rates and trade balance in three countries comprising Canada, Russia and Thailand hold in the Marshall-Lerner Condition with sum of import and export price elasticities of demand at 1.313581, 3.673422 and 1.294747 respectively at 0.05% significant; and 2) the relationship between exchange rates and trade balance under the Marshall-Lerner Condition in developed and developing countries disclosed no differences between them. However, it importantly depended on the elasticity of demand for import and export in each countryen_US
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
140812.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.58 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons