Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2253
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุนันท์ สีสังข์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวศินา จันทรศิริ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจุฑารัตน์ บัวขาว, 2527--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-11-29T02:28:53Z-
dc.date.available2022-11-29T02:28:53Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2253-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ข้อมูลสภาพทางด้านสังคมและเศรษฐกิจของเกษตรกร (2) การดำเนินการผลิตและแปรรูปข้าวกล้องงอกหอมมะลิของเกษตรกรให้ได้มาตรฐาน (3) ปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินการผลิตและแปรรูปข้าวกล้องงอกหอมมะลิให้ได้มาตรฐาน (4) ปัญหาในการดำเนินการผลิตและแปรรูปข้าวกล้องงอกหอมมะลิให้ได้มาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า (1) เกษตรกรอายุเฉลี่ย 44.17 ปี สมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 4.67 คน แรงงานในครัวเรือนเฉลี่ย 2.98 คน มีประสบการณ์ในการผลิตและแปรรูปข้าวกล้องงอกหอมมะลิ เฉลี่ย 19.8 ปี และ 2.11 ปี ตามลาดับ ส่วนใหญ่ได้รับมาตรฐานการผลิตข้าวหอมมะลิและผ่านการรับรองคุณภาพข้าวกล้องงอกหอมมะลิ ระยะการเป็นสมาชิกกลุ่มผลิตและแปรรูปข้าวกล้องงอกหอมมะลิเฉลี่ย 3.0 ปี และ 2.26 ปี ตามลาดับ รายได้ครัวเรือนในภาคการเกษตร เฉลี่ย 120,355.56 บาท รายได้ครัวเรือนนอกภาคการเกษตรเฉลี่ย 40,358.11 บาท รายจ่ายครัวเรือนในภาคการเกษตร เฉลี่ย 51,417.90 บาท หนี้สินครัวเรือนเฉลี่ย 114,626.67 บาท และมีพื้นที่ถือครองทางการเกษตรเฉลี่ย 25.76 ไร่ (2) เกษตรส่วนใหญ่ปฏิบัติตามเกณฑ์การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับข้าวหอมมะลิไทยได้ในระดับมากที่สุด และส่วนน้อยที่ปฏิบัติได้ในระดับปานกลาง สำหรับการปฏิบัติตามเกณฑ์การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับข้าวกล้องงอกหอมมะลิส่วนใหญ่ปฏิบัติได้ระดับมากที่สุด และส่วนน้อยไม่สามารถปฏิบัติได้ในบางข้อกำหนด (3) ไม่พบปัจจัยที่มีผลต่อการผลิต ส่วนปัจจัยที่มีผลต่อการแปรรูป คือ ประสบการณ์ในการแปรรูปข้าวกล้องงอกหอมมะลิและระยะเวลาการเป็นสมาชิกกลุ่มแปรรูป (4) ปัญหาการผลิตมากที่สุดคือ การป้องกันกำจัดศัตรูพืช การใช้เมล็ดพันธุ์ และการจัดการการปลูก มีข้อเสนอแนะเรื่องแหล่งน้า การผลิตรูปแบบกลุ่ม การปรับปรุงดิน ลดใช้สารเคมี สร้างจิตสานึก จัดทำแปลงสาธิต จัดทำบันทึก และการให้ความรู้อย่างต่อเนื่อง ส่วนปัญหาการแปรรูปมากที่สุดคือ สิ่งอำนวยความสะดวกด้านสุขลักษณะส่วนบุคคล การป้องกันกำจัดฝุ่น การเข้าบริเวณผลิต บริเวณผลิตเกิดการปนเปื้อน น้ำมีคุณภาพต่ำ การทวนสอบ และการใช้เครื่องสีข้าว มีข้อเสนอแนะเรื่องการปรับปรุงอาคารสถานที่ผลิต การปรับปรุงน้ำใช้ การจัดทำเอกสารควบคุมการปฏิบัติงาน การจัดทำบัญชี การต่อยอดผลิตภัณฑ์ ช่องทางการจัดจำหน่าย การให้ความรู้อย่างต่อเนื่อง และดูแลเครือข่ายth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.60-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectข้าวกล้องงอก--การผลิตth_TH
dc.subjectข้าวกล้องงอก--การแปรรูปth_TH
dc.titleการดำเนินการผลิตและแปรรูปข้าวกล้องงอกหอมมะลิให้ได้มาตรฐานของเกษตรกรในอำเภอทรายมูล จังหวัดยโสธรth_TH
dc.title.alternativeThe Operations of standardized Hom Maili Rice production and germinated rice processing by farmers in Sai Mun District of Yasothon Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2012.60-
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study (1) socio-economic information of farmers, (2) the operations of standardized Hom Mali Rice production and germinated rice processing, (3) factors affecting the operations of standardized Hom Mali Rice production and germinated rice processing, and (4) problems in the operations of standardized Hom Mali Rice production and germinated rice processing. The population in this study was a number of 81 members of the germinated Hom Mali Rice Processing Group in the year 2010-2012. Statistics employed for analysis were percentage, standard deviation, maximum value, minimum value and multiple correlation regression statistics. The following were results of the study: (1) The average age of farmers was 44.17 years. The average number of household members was 4.67 persons. The average number of household labor was 2.98 persons. Their average experience in Hom Mali Rice production and germinated rice processing was 19.8 years and 2.11 years respectively. Most of their standardized Hom Mali Rice production and quality of germinated Rice were officially certified. The average length of membership of Hom Mali Rice production and germinated rice processing group were 3.0 years and 2.26 years respectively. Their average household income from agricultural sector was 120,355.56 baht, whereas their average household income from non-agricultural sector was 40,358.11 baht. Their average household expense on agricultural sector was 51,417.90 baht while their average household debt was 114,626.67 baht. Their average occupied agricultural area was 25.76 rai. (2) Most of the farmers followed the criteria of good agricultural practice (GAP) for Hom Mali Rice at the highest level, while the minority’s practice was at medium level. In the GAP criteria for germinated Hom Mali Rice, most of them were able to practice at the highest level while the minority failed to practice in some requirements. (3) Factors affecting the production were not found, however, factors affecting the processing were experience in germinated Hom Mali Rice processing and duration of membership of processing group. (4) The most found problems were prevention and eradication of pests, use of rice seeds, and cultivation management. Their suggestions included water sources, production as in group setting, soil improvement, decrease of chemical substance, raising awareness, demonstration patches, recording and providing farmers with continued knowledge. The most found problems on processing were personal hygienic utility, dust protection and eradication, entering the production area, production area became contaminated, low quality of water, verification and the use of rice milling machine. They also suggested improving the production buildings, water, documents filing for operation supervision, accounting, products topping up, selling channels, providing farmers with continued knowledge as well as taking care of networksen_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
137383.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.92 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons