Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2269
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorส่งเสริม หอมกลิ่น, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorศักรินทร์ เพ็งรักษ์-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.date.accessioned2022-11-30T06:37:47Z-
dc.date.available2022-11-30T06:37:47Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2269-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจออมเงินของ สมาชิกสหกรณ์ (2) การตัดสินใจออมเงินของสมาชิกสหกรณ์และ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับ การตัดสินใจออมเงินของสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์นครหาดใหญ่ จํากัด ประชากรที่ศึกษา คือ สมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์นครหาดใหญ่ จํากัด เฉพาะที่ฝากเงินกับ สหกรณ์เป็นประจําทุกเดือน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 จํานวน 253 คน ศึกษาจากกลุ่มตัวอย่าง กำหนด ขนาดตัวอย่างโดยใช้สูตรของ ยามาเน่ ที่ค่าความคลาดเคลื่อน 0.05 จํานวน 115 คน สุ่มตัวอย่างอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ สถิติไคสแควร์ ผลการศึกษาพบว่า 1) ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจออมเงินของสมาชิกได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคล ส่วนใหญ่ เป็นเพศหญิง สถานภาพสมรสแล้ว จบการศึกษาระดับปริญญาตรีระยะเวลา การเป็นสมาชิก 5-10 และ 11-16 ปี ในสัดส่วนที่เท่ากัน ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ ส่วนใหญ่รายได้ของ ครัวเรือน 15,001 - 20,000 บาท ต่อเดือน รายจ่ายของครัวเรือน 5,001 - 15,000 บาท ต่อเดือน ภาระชําระ หนี้สินของครัวเรือน 5,001 -10,000 และ 10,001- 15,000 บาทต่อเดือนในสัดส่วนที่เท่ากัน ปัจจัยด้าน สังคม ส่วนใหญ่ขนาดครอบครัว 4 คน จํานวนผู้มีรายได้ในครอบครัว 2 คน ไม่มีบุตรที่อยู่ระหว่าง การศึกษา และปัจจัยด้านสหกรณ์โดยรวมอยู่ในระดับมาก มีบางปัจจัยที่อยู่ในระดับมากที่สุด ได้แก่ ความพร้อมของสหกรณ์ การบริการของเจ้าหน้าที่ ความสามารถจ่ายคืนเงินฝากได้อย่างแน่นอนของ สหกรณ์ และชื่อเสียงและภาพลักษณ์ของสหกรณ์ตามลําดับ 2) การตัดสินใจออมเงินของสมาชิก ได้แก่ เป้าหมายการออมเงิน ส่วนใหญ่เพื่อลงทุนในอนาคต ประเภทเงินออม ส่วนใหญ่เป็นเงินฝากประเภทออม ทรัพย์สินทวี และ จํานวนเงินออม ส่วนใหญ่ไม่เกิน 1,000 บาทต่อครั้ง และ เงินออมรวมทุกประเภทไม่ เกิน 10,000 บาท 3) ความสัมพันธ์ของปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยทางเศรษฐกิจ ปัจจัยทางสังคม และปัจจัย ด้านสหกรณ์กับการตัดสินใจออมเงินของสมาชิกสหกรณ์พบว่าทุกปัจจัยมีความสัมพันธ์กับเป้าหมายการ ออม ประเภทการออม จํานวนเงินออมแต่ละครั้ง และจํานวนเงินออมทุกประเภท อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการประหยัดและการออมth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สหกรณ์th_TH
dc.titleปัจจัยการตัดสินใจออมเงินของสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์นครหาดใหญ่ จำกัด จังหวัดสงขลาth_TH
dc.title.alternativeSaving decision factors of the Members’ City of Hat Yai Savings and Credit Cooperatives Ltd., Songkhla Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สหกรณ์)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study (1) factors related to saving decision of the cooperative members, (2) saving decisions of the cooperative members, and (3) the relationship among factors related to saving decision of members of City of Hat Yai Savings and Credit Cooperative Limited. The population of this study was 253 members of City of Hat Yai Savings and Credit Cooperative Limited who had monthly savings with the cooperative on 31 December, 2016. The sample size of 115 people was determined with Taro Yamane formula with the error value of 0.05, and by using simple random sampling. Data collection tool was questionnaire. Statistics used for data analysis were frequency, percentage, average, standard deviation, and chi-square. The findings showed that 1) factors related to the saving decision of members could be explained as followed. For personal factor, the majority of the samples were female and were already married. They had completed their education at Bachelor’s degree level. Most of them had been members of the cooperative for 5- 10 and for 11-16 years with an equal proportion. For economic factor, the household income was mostly between 15,001 - 20,000 Baht/month, while the expense was between 5,001 - 15,000 Baht/month. Household liabilities were 5,001 -10,000 and 10,001- 15,000 Baht/month in the equal proportion. For social factor, most of them had four family members, and among these members there were two principal earners. They had no children who were studying in school. For cooperative factor, overall factors were rated at high levels. However, some factors were rated as highest, which were the readiness of the cooperative, services provided by the cooperative officers, the certain capability of paying back deposit of the cooperative, and the reputation and image of the cooperative, respectively. 2) The decision to save money of the members was mainly intended for future investment. They saved the money in a form of Sin-Thawee saving with the saving amount of no more than 1,000 Baht/time. All types of savings were no more than 10,000 Baht. 3) The personal relationship among related factors and the decision in saving of the cooperative members revealed that every factor was significantly related to the saving goal, the type of saving, the amount of money saved each time, and all types of saving amount with 0.05 statistically significant levelen_US
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
158702.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.69 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons