Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/226
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorลาวัลย์ หอนพรัตน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุพัตราสืบสม อนันตพงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพิจิต ตราชูธรรม, 2524--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-04T05:46:34Z-
dc.date.available2022-08-04T05:46:34Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/226-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม. (กฎหมายธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2553th_TH
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ มุ่งศึกษาถึงการออกกฎหมายภายในเพื่อขจัดหรือบรรเทาภาระภาษีซํ้าซ้อน ระหว่างประเทศในกรณีผู้มีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย ได้้รับเงินได้จากประเทศที่ไม่มีอนุสัญญาภาษีซ้อนกับประเทศไทย โดยนำกฎหมายภายในของประเทศสหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร และฟิลิปปินส์ มาวิเคราะห์เป็นแนวทาง เพื่อออกกฎหมายภายในของประเทศไทย จากการศึกษาพบว่าประเทศส่วนใหญ่ในโลกนี้ ใช้หลักถิ่นที่อยู่ (Residence Rule) และหลักแหล่ง เงินได้ (Source Rule) ในการจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา จึงเป็นเหตุให้เกิดการเสียภาษีซํ้าซ้อนระหว่างประเทศ (International Double Taxation) ประเทศไทยก็ใช้หลักถิ่นที่อยู่ และหลักแหล่งเงินได้ในการจัด เก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เป็นเหตุให้เกิดการเสียภาษีซํ้าซ้อนระหว่างประเทศเช่นเดียวกัน กล่าวคือผู้มีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทยเมื่อมีเงินได้จากต่างประเทศจะต้องเสียภาษีให้แก่ประเทศแหล่งเงินได้แล้ว ยังต้องเสียภาษีให้แก่ประเทศไทย ซึ่งเป็นประเทศถิ่นที่อยู่อีก เมื่อมีการนำเงินได้นั้นเข้ามาในประเทศไทยในปีภาษีเดียวกัน กับที่่ได้รับเงินนั้น แม้ประเทศไทยจะขจัดหรือบรรเทาภาระภาษีซํ้าซ้อนระหว่างประเทศ โดยการทำอนุสัญญาภาษีซ้อน (Double Taxation Agreement) กับประเทศต่างๆ ถึงปัจจุบันรวม 54 ประเทศ แต่ก็ขจัดหรือบรรเทาภาระภาษีซํ้าซ้อนได้เฉพาะกรณีผู้มีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทยมีเงินได้จากประเทศที่มีอนุสัญญาภาษีซ้อนกับประเทศไทยเท่านั้น หากมีเงินได้จากประเทศที่ไม่มีอนุสัญญาภาษีซ้อนกับประเทศไทย ภาระภาษีซํ้าซ้อนระหว่างประเทศก็ไม่ได้รับการขจัดหรือบรรเทาความไม่เป็นธรรม ในการเสียภาษีจึงเกิดขึ้นจากการที่หากมีเงินได้จากประเทศที่ไม่มีอนุสัญญาภาษีซ้อนกับประเทศไทยจะเสียภาษีมากกวา่ ผลจากการศึกษาพบว่ามีวิธีแก้ปัญหาความไม่เป็นธรรมดังกล่าว 3 วิธี ได้แก่วิธียกเว้น วิธีเครดิต ธรรมดา และวิธีหักค่าใช้จ่ายผู้ศึกษาขอเสนอแนะว่าประเทศไทยควรใช้วิธีเครดิตธรรมดา โดยออกเป็นกฎหมายภายใน เพราะอนุสัญญาภาษีซ้อนที่ประเทศไทยทำไว้กับประเทศต่างๆ ส่วนใหญ่จะใช้วิธีนี้ ฉะนั้นไม่ว่าผู้มีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย จะมีเงินได้จากประเทศที่มีหรือไม่มีอนุสัญญาภาษีซ้อนกับประเทศไทยก็ได้รับการขจัดหรือบรรเทาภาระภาษีซํ้าซ้อนระหว่างประเทศ โดยวิธีเครดิตธรรมดาเท่าเทียมกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.-
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)-
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายธุรกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการชำระบัญชีth_TH
dc.titleปัญหาความไม่เป็นธรรมในการเสียภาษีซ้ำซ้อนของบุคคลธรรมดาที่มีเงินได้จากต่างประเทศth_TH
dc.title.alternativeThe unfair problems on individuals' foreign income double taxationth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this thesis are to study the legislation of domestic law in order to remove or relieve the burden of international double taxation in case of Thai residents earning income from foreign countries not having double taxation agreement with Thailand. It found that the domestic law of the United States of America, the United Kingdom and the Philippines are the best means for enacting such domestic law The study found that most countries have utilized both Residence Rule and Source Rule for taxing individual income. Using such two rules together creates international double taxation. Thailand also falls into similar situation. A resident in Thailand obtaining foreign income must pay taxes to both the country of Source and the country of Resident, which is Thailand, if he/she brings such income into Thailand in the same taxable year of earning. Although Thailand has signed the double taxation agreements with fifty four countries, these can remove or relieve international double taxation only if the sources of income are from those countries. Therefore, Thai residents still need to pay double taxes to both Thailand and other countries of source, which do not have double taxation agreement with Thailand From the study, there are three methods currently used to resolve the problem, i.e. exemption method, ordinary credit method and deduction method. The recommendation is that Thailand should use the Ordinary credit method to relieve the double taxation problems because most of the existing double taxation agreements between Thailand and other countries use such method. Therefore, it is fair to enact a new domestic law with ordinary credit method, which is applicable to all Thai residents regardless of their sources of incomeen_US
Appears in Collections:Law-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib125090.pdfเอกสารฉบับเต็ม21.95 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons