Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2300
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorส่งเสริม หอมกลิ่น, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกัลยารัตน์ เทพเลื่อน-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.date.accessioned2022-12-01T08:32:12Z-
dc.date.available2022-12-01T08:32:12Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2300-
dc.description.abstractการศึกษามีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาสภาพทั่วไปสมาชิกที่ปลูกปาล์มน้ํามันของ สหกรณ์การเกษตรเมืองสุราษฎร์ธานีจํากัด 2) เพื่อศึกษาปัจจัยในการตัดสินใจขายปาลมน้ำมันของสมาชิก สหกรณ์การเกษตรเมืองสุราษฎร์ธานีจํากัด และ 3) เพื่อศึกษา ปัญหา อุปสรรค และแนวทางในการ ตัดสินใจขายปาลมน้ำมันของสมาชิกสหกรณ์การเกษตรเมืองสุราษฎร์ธานีจํากัด ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือ สมาชิกสหกรณ์การเกษตรเมืองสุราษฎร์ธานีจํากัด ที่มีพื้นที่ปลูกปาลมน้ำมันทั้งหมดจำนวน 155 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ ได้แก่ค่าความถี่ค่าร้อยละค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษา พบว่า 1) สมาชิกส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุ 50 ปี ขึ้นไป จบการศึกษาระดับ ประถมศึกษา มีสมาชิกในครอบครัวที่ช่วยกันทำการเกษตร 2-3 คน มีรายได้ของครอบครัวเฉลี่ยต่อปี มากกว่า 180,000 บาทขึ้นไป มีระยะเวลาที่เป็นสมาชิกสหกรณ์ 14 ปี ขึ้นไป มีผลผลิตปาลมน้ำมัน 80,000 กิโลกรัมต่อปีและตลาดที่สมาชิกขายปาลมน้ำมันคือจุดรับซื้อใกล้บ้าน 2) ปัจจัยในการตัดสินใจขายปาล์ม ของสมาชิกสหกรณ์การเกษตรเมืองสุราษฎร์ธานีจํากัดโดยรวม อยู่ในระดับมากที่สุด ทุกปัจจัย โดยปัจจัย ในการตัดสินใจขายปาลมน้ำมันของสมาชิกสหกรณ์การเกษตรเมืองสุราษฎร์ธานีจํากัดในระดับที่สูงเป็น ลําดับแรกคือ ปัจจยดัานราคาปัจจัยย่อยสหกรณ์จ่ายเงินที่ซื้อปาลมน้ำมันให้สมาชิกเป็นเงินสด อยู่ใน ระดับมากที่สุด รองลงมาได้แก่ ปัจจัยด้านช่องทางการจำหน่ายคือมีระบบตราชั่งได้มาตรฐานเที่ยงตรง อยู่ในระดับมากที่สุด ปัจจัยดัานผลผลิต ปัจจัยย่อยสหกรณ์รับซื้อปาลมน้ำมันอย่างต่อเนื่องทุกฤดูผลิต อยู่ในระดับมากที่สุด และปัจจัยด้านการส่งเสริมการตลาด ปัจจัยย่อยสหกรณ์มีเงินเฉลี่ยคืนแก่สมาชิกตาม ส่วนยอดขายอยู่ในระดับมากที่สุด 3) ปัญหาการตัดสินใจขายปาลมน้ำมันของสมาชิกสหกรณ์การเกษตร เมืองสุราษฎร์ธานีจํากัด เกิดจากความไม่มั่นใจในการทำธุรกิจรวบรวมของสหกรณ์เนื่องจากประสบปัญหาการรวบรวมไม่ต่อเนื่องและขอเสนอแนะให ้ สหกรณ ้ ์รับซ้ือปาลมน้ำมันรับซื้อปาลมน้ำมันต่อเนื่องและสร้างเครือข่ายระหว่างสหกรณ์เพื่อช่วยให้เกษตรกรขายปาลมน้ำมันได้ในราคาที่เกษตรกรพอใจและยุติธรรมth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสมาชิกสหกรณ์การเกษตรเมืองสุราษฎร์ธานีจำกัดth_TH
dc.subjectปาล์มน้ำมัน--แง่เศรษฐกิจ.--ไทยth_TH
dc.subjectการตัดสินใจของกลุ่มth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สหกรณ์th_TH
dc.titleปัจจัยในการตัดสินใจขายปาล์มน้ำมันของสมาชิกสหกรณ์การเกษตรเมืองสุราษฎร์ธานี จำกัดth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting the decision to sell oil palm of members of Surat Thani Agricultural Cooperative, Ltd.th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สหกรณ์)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe study objectives were 1) to study the general situation of Oil Palm plantation area of Surathani Agricultural Cooperatives Ltd (SAC) Suratthani Province 2) to study the factors that affected on SAC members Oil Palm selling 3) to study the problem, obstacles and guidance of these problems solving on the Oil Palm selling of SAC members, Suratthani Province. The population of this study was the SAC members with the population size of 155 persons. The study tool was questionnaire. The descriptive statistics was applied as the data analysis such as frequency, percentage, arithmetic mean and standard deviation. The study found that 1) the majority of SAC members were male with the age range of 50 years old or older, primary school graduated, family’s members of 2-3 persons, the average family income of 180,000 Thai Baht or higher, the period of cooperatives membership was approximately 14 years, the yearly oil palm production was 80,000 kilograms, the members’ selling to the closed markets, 2) the factors affected on the oil palm of SAC were on the high level with the following factors, the price they preferred to receive the cash from their product selling, for the selling channel, the SAC members preferred to have the standard and accurate measurement, for the product, the SAC members preferred to sell their products of every production season they produced. For the marketing promotion, the SAC members preferred to get the dividend of sell volume 3) the problem of SAC members of oil palm selling they were not confident on the SAC collecting business because there was not continuously collect behavior of SAC. The guidance to solve this problem was that SAC could perform the continuous oil palm business along with business network building among cooperatives in order to get the members’ satisfaction and fairnessen_US
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
130671.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.24 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons