Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/230
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศรีนวล สถิตวิทยานันท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวรรณี สัตยวิวัฒน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเกษร จรรยารัตน์, 2506--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-04T06:38:24Z-
dc.date.available2022-08-04T06:38:24Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/230-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาตัวชี้วัดคุณภาพด้านผลลัพธ์ทางการพยาบาลสำหรับ ผู้ป่วยกระดูกสะโพกหักที่เปลี่ยนข้อสะโพกเทียม (2) เพื่อประเมินความเป็นไปได้ในการนำตัวชี้วัดไปใช้ในการ ประเมินคุณภาพด้านผลลัพธ์การพยาบาลสำหรับผู้ป่วยกระดูกสะโพกหักที่เปลี่ยนข้อสะโพกเทียม โดยใช้การวิจัย แบบเทคนิคเดลฟาย กลุ่มตัวอยางที่ศึกษาเป็นผู้เชี่ยวชาญในการดูแลผู้ป่วยกระดูกสะโพกหักที่เปลี่ยนข้อสะโพกเทียม จำนวน 18 คน ประกอบด้วย หัวหน้าหอผู้ป่วยออร์โธปิดิกส์ จำนวน 5 คน พยาบาลปฏิบัติการ ผู้เชี่ยวชาญด้านการ พยาบาลผู้ป่วยออร์โธปิดิกส์ จำนวน 7 คน อาจารย์พยาบาล ผู้เชี่ยวชาญด้านวิชาการการพยาบาลผู้ป่วยออร์โธปิดิกส์ จำนวน 4 คน และแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านการรักษาผู้ป่วยออร์โธปิดิกส์ จ านวน 2 คน เก็บรวบรวมข้อมูลจำนวน 3 รอบ รอบที่ 1 สอบถามผู้เชี่ยวชาญโดยใช้แบบสอบถามกึ่งโครงสร้าง นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์เนื้อหา และสร้างเป็นแบบสอบถามชนิดมาตราส่วนประมาณค่า เพื่อให้ผู้เชี่ยวชาญให้ความคิดเห็นในรอบที่ 2 และรอบที่ 3 ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการตำนวณหาค่า มัธยฐาน ฐานนิยม และค่าพิสัยระหวางควอไทล์ ผลการวิจัยพบวา ตัวชี้วัดคุณภาพด้านผลลัพธ์การพยาบาลสำหรับผู้ป่วยกระดูกสะโพกหักที่เปลี่ยนข้อสะโพกเทียม ซึ่งผู้เชี่ยวชาญมีความคิดเห็นสอดคล้องกัน ในคุณภาพด้านผลลัพธ์การพยาบาล 25 รายการ ตัวชี้วัดยอย ่ 31 รายการ เป็นรายการที่มีความเหมาะสมมากที่สุด 25 รายการ จำแนกเป็น 6 กลุ่ม ดังนี้ (1) กลุ่มสุขภาพการทำหน้าที่ของร่างกาย จำนวน 5 รายการ ตัวชี้วัดยอย ่ 2 รายการ (2) กลุ่มสุขภาพสรีรวิทยาจำนวน 7 รายการ ตัวชี้วัดย่อย 17 รายการ (3) กลุ่มสุขภาพจิตสังคม จำนวน 4 รายการ (4) กลุ่มสุขภาพความรู้และพฤติกรรมสุขภาพ จำนวน 3 รายการ ตัวชี้วัดย่อย 9 รายการ (5) กลุ่มสุขภาพการรับรู้สุขภาพ จำนวน 2 รายการ ตัวชี้วัดย่อย 3 รายการ (6) กลุ่มสุขภาพครอบครัวหรือผู้ดูแล จำนวน 4 รายการ ผลการประเมินความเป็นไปได้ในการนำตัวชี้วัดคุณภาพด้านผลลัพธ์การพยาบาลไปใช้ ผ่านเกณฑ์อยู ในระดับ มากที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2014.210en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช-
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectกระดูกหัก--การดูแล--การประเมินth_TH
dc.subjectผู้ป่วย--การดูแล--การประเมินth_TH
dc.subjectการพยาบาล--การประเมินth_TH
dc.titleตัวชี้วัดคุณภาพด้านผลลัพธ์ทางการพยาบาลสำหรับผู้ป่วยกระดูกสะโพกหักที่เปลี่ยนข้อสะโพกเทียมth_TH
dc.title.alternativeThe quality indicators of nursing outcomes for patients with hip fracture undergoing hip arthroplastyth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2014.210en_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were: (1) to study quality indicators of nursing outcomes for patients with hip fracture undergoing hip arthroplasty and (2) to evaluate the feasibility of applying quality indicators of nursing outcomes for patients with hip fracture undergoing hip arthroplasty. This research used Delphi technique. The sample was selected by the purposive sampling technique and included 18 experts in caring for patients’ hip fracture with total hip arthroplasty. They were 5 head nurses of the Orthopedic Department, 7 orthopedic nursing experts, 4 nursing teachers and academic experts in orthopedic nursing, and 2 orthopedists. Data were collected for 3 rounds. First, experts answered semi-structured questionnaires. Then data were analyzed by content analysis, and the results were constructed rating scale questionnaires for experts to provide their opinions in the second and the third rounds. Data were analyzed by median, mode, and quartile range. The results were as follows. (1) Experts agreed with 25 items 31 sub-items of quality indicators of nursing outcomes for patients with hip fracture undergoing hip arthroplasty. Those 25 items were most appropriate and classified into 6 categories: (a) functions of the body (5 items and 2 sub-items), physiology (7 items and 17 subitems), socio-mental health (4 items), health knowledge and behaviors (3 items and 9 sub-items), health perception (2 items and 3 sub-items), health family and care giver (4 items). (2) The evaluation result of the feasibility of applying quality indicators of nursing outcomes for patients with hip fracture undergoing hip arthroplasty was met the criteria at the highest levelen_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext (1).pdfเอกสารฉบับเต็ม21.62 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons