Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2311
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorส่งเสริม หอมกลิ่น, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวันดี ปิ่นแก้ว, 2524--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.date.accessioned2022-12-02T06:11:38Z-
dc.date.available2022-12-02T06:11:38Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2311-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพทั่วไปของสมาชิกที่ทำธุรกิจสินเชื่อกับสหกรณ์ 2)ระดับความสำคัญของปัจจัยที่มีผลต่ความสามารถในการชำระหนี้ของสมาชิกสหกรณ์ และ 3) ปัจจัย ที่มีผลต่อความสามารถในการชำระหนี้ของสมาชิกสหกรณ์ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ สมาชิกสหกรณ์การเกษตรปฏิรูปที่ดินบ้านต้นมะพร้าว จำกัด ณ 31 มีนาคม 2556 เฉพาะที่มีหนี้กับสหกรณ์โดยศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 196 คน ใช้แบบสอบถาม เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อ มูล สถิติที่ใช่ในการวิเคราะห์ข้อมูล ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบไคสแควร์ ผลการศึกษาพบว่า 1) สมาชิกส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุช่วง 41 - 50 ปี การศึกษาระดับประถมศึกษา สมรสแล้ว ไม่เคยผิดนัดชำระกับสหกรณ์ อาชีพทำสวนยางพาราเป็นอาชีพหลัก รายได้จากภาคการเกษตร เฉลี่ยต่อเดือน ระหว่าง 20,001 – 40,000 บาท รายจ่ายภาคการเกษตรของครัวเรือนเฉลี่ยต่อเดือน ระหว่าง 5,001 - 10,000 บาท รายจ่ายนอกภาคการเกษตรเฉลี่ยต่อเดือน ระหว่าง 5,001 - 10,000 บาท ใช้บริการเงินกู้กับสหกรณ์มาแล้วมากกว่า 3 ครั้ง มีหนี้ระยะสั้น และระยะปานกลางกับสหกรณ์ ระหว่าง 20,001 - 40,000 บาท ชำระหนี้ได้ทั้งเงินต้น และดอกเบี้ยเมื่อครบกำหนดสัญญา สมาชิกมีกรรมสิทธิ์ในที่ดินทำการเกษตร พื้นที่ทำการเกษตรระหว่าง 10 - 20 ไร่ มีกรรมสิทธิ์ในที่อยู่อาศัย มูลค่าทรัพย์สินที่สมาชิกมีอยู่ปัจจุบัน มีมูลค่า 500,001 บาทขึ้นไป และ สมาชิกใช้บุคคลค้ำประกันเงินกู้ 2) ระดับความสำคัญของปัจจัย ที่มีผลต่อความสามารถในการชำระหนี้ของสมาชิกสหกรณ์พบว่า ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมด้านสภาพทางเศรษฐกิจ มีผลระดับ มากที่สุด ด้านนโยบายของรัฐมีผลระดับปานกลาง ด้านภัยธรรมชาติมีผลระดับปานกลาง ปัจจัยด้านสหกรณ์มีผลระดับมาก ปัจจัยด้านการผลิตมีผลระดับปานกลาง ปัจจัยด้านการตลาดมีผลระดับมาก และ 3) ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการชำระหนี้ของสหกรณ์ พบว่าปัจจัยด้านคุณสมบัติ ส่วนบุคคลของสมาชิก ปัจจัยด้านความสามารถของสมาชิก ปัจจัยด้านเงินทุนของสมาชิก ปัจจัย ด้านหลักประกันเงินกู้ของสมาชิก ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม ปัจจัยด้านสหกรณ์ ปัจจัยด้านการผลิต ปัจจัยด้านการตลาดมีผลต่อความสามารถในการชำระหนี้ของสมาชิกสหกรณ์อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการชำระหนี้ของสมาชิกสหกรณ์การเกษตรปฏิรูปที่ดินบ้านต้นมะพร้าว จำกัด จังหวัดสุราษฎร์ธานีth_TH
dc.title.alternativeFactors that affect the ability to pay back loans of members of Baan Ton Maphrao Land Reform Area Agricultural Cooperatives Limited in Surat Thani Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สหกรณ์)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study 1) the demographic status of members of the Baan Ton Maphrao Land Reform Area Agricultural Cooperatives Limited who had taken out loans from the cooperative; 2) the relative importance of the factors affecting their ability to pay back the loans; and 3) factors that affected their ability to pay back the loans. The sample population consisted of 196 members of Baan Ton Maphrao Land Reform Area Agricultural Cooperatives, Limited, who were in debt to the cooperatives as of 31 March 2013. Data were collected using a questionnaire. Data were analyzed using frequency, percentage, mean, standard deviation, and chi square test. The results showed that 1) Most of the members were female, aged 41-50, educated to primary school level, married, and had never been late on a loan payment to the cooperative. Their careers were mainly rubber cultivation and most gained income of 20,001-40,000 baht a month from agriculture. On average their household expenses for agriculture were 5,001-10,000 baht a month and their other expenses were 5,001-10,000 baht a month. Most had taken out loans from the cooperative more than 3 times. They owed short-term and medium-term debts of 20,001-40,000 baht to the cooperatives. They were able to pay back the principal and the interest on time according to the loan terms. Most of them owned 10-20 rai of agricultural land and owned their own homes. Most had assets valued at over 500,001 baht and had guarantors for their loans. 2) The ranking of factors that affected the members’ ability to pay back their loans to the cooperatives showed that the factors of economic environment and economic conditions were rated as the most important. The factors of the cooperatives and marketing were rated as second most important, and the factors of government policies, natural disasters and agricultural production were rated as of medium importance. 3) The following factors were related to the members’ ability to pay back their loans to a statistically significant degree (p>0.05): personal qualities, personal capabilities, capital, collateral, environmental factors, the cooperative, production, and marketing.-
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext-142625.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.17 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons