Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2316
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | รัชฎาพร เลิศโภคานนท์ | th_TH |
dc.contributor.author | จิติมา ศุภพิตร, 2500- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-12-02T08:15:52Z | - |
dc.date.available | 2022-12-02T08:15:52Z | - |
dc.date.issued | 2552 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2316 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) สร้างแบบจำลองปัจจัยการผลิต-ผลผลิตของ จังหวัดหนองคาย โดยการประมาณค่าสัมประสิทธิ์การผลิตจากแบบจำลองปัจจัยการผลิต-ผลผลิต ของประเทศไทย (2) ศึกษาผลกระทบที่เกิดจากกิจกรรมทางเศรษฐกิจต่างๆ ภายในจังหวัด หนองคาย โดยพิจารณาผลกระทบทางด้านผลผลิต ด้านการจ้างงาน และด้านรายได้ที่เกิดขึ้นใน จังหวัดหนองคาย (3) กำหนดแนวทางในการพัฒนาเศรษฐกิจของจังหวัดหนองคาย การศึกษาใน ครั้งนี้ได้ใช้แบบจำลองปัจจัยการผลิต-ผลผลิต ของจังหวัดหนองคาย โดยทำการประมาณค่า สัมประสิทธิ์ เพื่อจัดลำดับความสำคัญของกิจกรรมทางเศรษฐกิจต่างๆ ภายในจังหวัด โดยพิจารณา จากผลกระทบไปข้างหน้า และผลกระทบไปข้างหลัง ผลการศึกษา พบว่า ผลการเชื่อมโยงโดยรวมของจังหวัดหนองคาย ด้านผลผลิต สาขา ลูกจ้างในครัวเรือนส่วนบุคคล เป็นสาขาการผลิตที่สำคัญสูงสุด เมื่อมีการขยายการผลิตเพิ่มขึ้น 1 หน่วย จะมีค่าสัมประสิทธิ์ความเชื่อมโยงด้านผลผลิตเพิ่มขึ้นเท่ากับ 3.420032 หน่วย ส่วนผลด้าน การเชื่อมโยงทางด้านการจ้างงานพบว่าสาขาโรงแรมและภัตตาคาร เป็นสาขาการผลิตที่สำคัญสูงสุด ลำดับที่ 1 เมื่อมีการขยายการผลิตเพิ่มขึ้น 1 หน่วย จะมีค่าส้มประสิทธิ์ความเชื่อมโยงด้านการจ้าง งานเพิ่มขึ้นเท่ากับ 68.425508 คน สำหรับผลการเชื่อมโยงทางต้านรายไต้ สาขาการขายส่ง การขาย ปลีก การซ่อมแซมยานยนต์ จักรยานยนต์ ของใช้ส่วนบุคคล และของใช้ในครัวเรือน เป็นสาขาการ ผลิตที่สำคัญสูงสุด เมื่อมีการขยายการผลิตเพิ่มขึ้น 1 หน่วย จะมีค่าสัมประสิทธิ์ความเชื่อมโยงด้าน รายได้เพิ่มขึ้นเท่ากับ 2.512817 หน่วย เพื่อให้เกิดความชัดเจนในการเลือกสาขาเศรษฐกิจที่สำคัญ จึงได้รวมผลการเชื่อมโยงโดยรวมทั้งหมดเข้าด้วยกันและพบว่าสาขาเกษตรกรรม การล่าสัตว์และ การป่าไม้ เป็นสาขาการผลิตที่ส่งผลการเชื่อมโยงทั้ง 3 ด้านมากที่สุด จึงเป็นสาขาเศรษฐกิจสำคัญที่ ใช้ในการกำหนดแนวทางสำหรับการพัฒนาเศรษฐกิจของจังหวัดหนองคาย เพื่อส่งผลให้เกิดภาร ขยายตัวต่อระบบเศรษฐกิจ และกระจายความเจริญไปลังสาขาเศรษฐกิจอื่นๆ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | หนองคาย -- ภาวะเศรษฐกิจ | th_TH |
dc.title | การเลือกสาขาเศรษฐกิจสำคัญสำหรับการพัฒนาจังหวัดหนองคาย : วิเคราะห์โดยใช้ตารางปัจจัยการผลิต-ผลผลิตจังหวัดหนองคาย | th_TH |
dc.title.alternative | Analysis of key economic sectors for Nongkhai Province development : case study Nongkhai input-output table | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
Appears in Collections: | Econ-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
125711.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 3.9 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License