Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2320
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรัชฎาพร เลิศโภคานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจิรณัสถ์ กรรณวัฒน์, 2513--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2022-12-06T03:04:06Z-
dc.date.available2022-12-06T03:04:06Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2320-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพทั่วไปของการผลิต การตลาด ปัญหาและอุปสรรคในการทำสวนกล้วยไม้สกุลหวาย และ 2) วิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนทางการเงินของการลงทุนทำสวนกล้วยไม้สกุลหวาย ในตำบลคลองนกกระทุง อำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษารวบรวมจากเกษตรกรจำนวนหนึ่งราย ที่ทำสวนกล้วยไม้สกุลหวาย ในตำบลคลองนกกระทุง อำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม เนื่องจากในตำบลคลองนกกระทุง มี เกษตรกรที่ทำสวนกล้วยไม้สกุลหวายเพียงรายเดียว การศึกษาใช้แบบสัมภาษณ์เป็นเครื่องมือการวิจัย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้หลักการวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนการลงทุน ที่พิจารณาจากเกณฑ์ชี้วัดทาง การเงิน ได้แก่ มูลค่าปัจจุบันสุทธิ อัตราส่วนรายได้ต่อค่าใช้จ่าย และอัตราผลตอบแทนภายในของการ ลงทุน โดยใช้อัตราคิดลดหรือค่าเสียโอกาสของเงินทุนที่ร้อยละ 10.50 ผลการศึกษาพบว่า 1) สภาพทั่วไปของการทำสวนกล้วยไม้สกุลหวายใน อำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม มีทำเลที่ตั้งแหล่งการผลิต การตลาด ระยะทางการคมนาคมขนส่งสะดวก เนื่องจากอยู่ใกล้ กรุงเทพ แต่ปัญหาและอุปสรรคในการทำสวนกล้วยไม้ ได้แก่ โรคและแมลงของกล้วยไม้ รวมทั้งต้นทุน การผลิตที่สูงได้แก่ ราคาสารเคมี ค่าจ้างแรงงานที่สูงขึ้น และการเปลี่ยนแปลงทางสภาวะอากาศ 2) การวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนทางการเงินของการลงทุนทำสวนกล้วยไม้สกุลหวายที่ ขนาดพื้นที่ 6 ไร่มีค่าใช้จ่ายรวมและรายได้เท่ากับ 1,660,820 บาท และ 3,526,000 บาท ตามลำดับ ผลการ วิเคราะห์ทางการเงินบอกให้ทราบว่า การลงทุนทำสวนกล้วยไม้สกุลหวายมีความเหมาะสมและคุ้มค่าใน การลงทุนทั้งในกรณีที่เกษตรกรมีการกู้ยืมเงินมาลงทุน และกรณีที่เกษตรกรไม่มีการกู้ยืมเงินมาลงทุน เนื่องจากมีค่าตัววัดผลทางการเงินทั้ง 3 ตัวคือ มูลค่าปัจจุบันสุทธิ มีค่าเป็นบวก 1,383,065.89 และ 1,272,669.09 อัตราส่วนรายได้ต่อค่าใช้จ่าย มีค่ามากกว่า 1 คือ 1.82 และ 1.91 และอัตราผลตอบแทนภายใน ของการลงทุนเท่ากับ 198.59 และ 110.08 ตามลำดับ ซึ่งมากกว่าค่าเสียโอกาสของการลงทุน ที่คิดอัตรา ดอกเบี้ย 10.50 บาทต่อปีth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectกล้วยไม้ -- การผลิต -- แง่เศรษฐกิจth_TH
dc.subjectเกษตรกร -- ไทย -- นนทบุรีth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ -- เศรษฐศาสตร์th_TH
dc.titleการวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนทางการเงินของการลงทุนทำสวนกล้วยไม้สกุลหวาย ในตำบลคลองนกกระทุง อำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐมth_TH
dc.title.alternativeA financial cost and return analysis of the dendrobium orchid farming in Tambon Klongnokkratung, Banglane District, Nakornprathom Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to: 1) study the generality of the production, marketing, problems and obstacles of Dendrobium orchid farming; and 2) analyze the cost and return on investment of the Dendrobium orchid farming in Tambon Klongnokkratung, Banglane District, Nakornprathom Province. The data used in the study collected from a farmer, via direct interview questionnaire, who invested in Dendrobium orchid farming in Tambon Klongnokkratung, Banglane District, Nakornprathom Province because there is only one farmer in the area investing in Dendrobium orchid farming. The study employed financial cost and return analysis which considered from financial criteria including Net Present Value (NPV), Benefit – Cost Ratio (BCR), and Internal Rate of Return (IRR). In the analysis, the discount rate or the opportunity cost of capital at 10.50% was applied. The results of the study indicated that: 1) the Dendrobium orchid farming in Banglane District was a good location because the farm was near market in Bangkok and convenient transportation but there were many problems including orchid diseases and insect pests, the rising costs of fertilizer, insecticide, labor wages, and the uncertainty of climate; 2) the total expenses and incomes of Dendrobium orchid farming investment at 6-rai size were 1,660,820 baht and 3,526,000 baht, respectively. This study revealed that there was suitable and worthwhile to invest, both depending on non-loan or loan capital investment. This was supported by three financial indicators: the Net Present Values were positive (1,383,065 and 1,272,669); the Benefit – Cost Ratios were more than 1 (1.91 and 1.82); and the Internal Rate of Return (198.59% and 110.08%) were more than the capital Opportunity Cost (10.50 %)en_US
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
129115.pdfเอกสารฉบีบเต็ม3.15 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons