Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2321
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอนุชา ภูริพันธุ์ภิญโญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวิไลลักษณ์ ศรีบุญเรือง, 2523--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.date.accessioned2022-12-06T03:16:15Z-
dc.date.available2022-12-06T03:16:15Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2321-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ปัจจัย ส่วนบุคคลของสมาชิกสหกรณ์ 2) ปัจจัยด้านเศรษฐกิจและปัจจัยด้านสังคมของสมาชิกสหกรณ์ 3) ปัจจัยด้านการบริหารงานของสหกรณ์ และ 4) ปัญหาและอุปสรรคที่มีผลต่อการต้างชำระหนี้เงินกู้ และความต้องการของสมาชิกสหกรณ์ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ สมาชิกสหกรณ์การเกษตรแม่สะเรียง จำกัด ที่ค้างชำระหนี้เงินกู้ จำนวนทั้งหมด 231 คน สุ่มตัวอย่างแบบง่าย ได้จำนวนกลุ่มตัวอย่างเท่ากับ 147 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบไคสแควร์ ผลการศึกษาพบว่า 1) สมาชิกสหกรณ์ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุอยู่ในช่วง 41 - 45 ปี สถานภาพสมรส การศึกษาระดับประถมศึกษา ระยะเวลาการเป็นสมาชิกส่วนใหญ่ 5 - 10 ปี 2) สมาชิกสหกรณ์ส่วนใหญ่กู้เงินประเภทเงินกู้ระยะสั้นเพื่อผลิตผลหลัก รายได้จากการประกอบอาชีพ 30,000 - 60,000 บาทต่อปี ค่าใช้จ่ายในครัวเรือน 30,000 - 60,000 บาทต่อปี ส่วนใหญ่ไม่มีภาระหนี้สินกับสถาบันการเงินอื่น สมาชิกในกลุ่มเดียวกันและผู้นำไม่มีอิทธิพลต่อการชำระหนี้เงินกู้ของสมาชิก ปัจจัยด้านเศรษฐกิจที่มีผลต่อการค้างชำระหนี้เงินกู้ของสมาชิกสหกรณ์ ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 ได้แก่ ประเภทการกู้เงินของสมาชิก รายได้จากการประกอบอาชีพของสมาชิก และค่าใช้จ่ายในครัวเรือนของสมาชิก 3) กระบวนการด้านการติดตามหนี้ของสหกรณ์ การจัดชั้นลูกหนี้ของสหกรณ์ และอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ของสหกรณ์ มีระดับความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด และ 4) ปัญหาและอุปสรรคที่มีผลต่อการค้างชำระหนี้เงินกู้้ ได้แก่ ราคาผลผลิตตกต่ำ และต้นทุนการผลิตสูง สมาชิกต้องการให้สหกรณ์ลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ ขยายเวลาการชำระเงินกู้ และแบ่งการชำระหนี้ต้นเงินเป็นงวด ๆ โดยไม่มีดอกเบี้ยและค่าปรับth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสหกรณ์การเกษตรแม่สะเรียงth_TH
dc.subjectการชำระหนี้th_TH
dc.subjectเงินกู้ส่วนบุคคลth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สหกรณ์th_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการค้างชำระหนี้เงินกู้ของสมาชิกสหกรณ์การเกษตรแม่สะเรียง จำกัด จังหวัดแม่ฮ่องสอนth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting members' unpaid loan of Mae Sariang Agricultural Co-operatives Ltd. in Mae Hong Son Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สหกรณ์)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives were to study 1) individual factors of the members of co-operatives, 2) economic and social factors of the members of co-operatives, 3) administrative factors of co-operatives, and 4) problems and obstacles affecting unpaid loan and the needs of members The population in this study consisted of 231 members who did not pay their loans to Mae Sariang Agricultural Co-operatives Ltd. Simple random sampling was applied to select 147 samples. The data were collected by employing a questionnaire and analyzed by statistics including frequency, percentage, mean, standard deviation, and Chi-square test. The study findings were found that 1) most of the members were male with the age range of 41 to 45 years old and married, finished primary education, and had served as membership for 5 to 10 years. 2) The majority of the members had short-term loans for the main agricultural production; the annual income was in the range of 30,000 to 60,000 baht while the annual household expense was between 30,000 to 60,000 baht. Most of members did not get loan from any other financial sources. Members in the same group and the group leader did not have any influences on members’ loan payback while economic factors had influenced members ‘loan payback, such as the type of members’ loan, members’ income as well as the family expense; it was statistically significant at .05 level. 3) The process of loan monitor, the customer classification, and interest rate were perceived as the most level of appropriateness by the members of co-operatives. Hence, 4) problems an obstacles affecting the unpaid loan, these were the declining of agricultural produce prices and high costs of agricultural inputs. The members stated their demand that the co-operatives should reduce loan interest rate, expand loan payback period, and divide payback loan without the interest rate and fine.-
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext-146721.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.64 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons