Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2327
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorส่งเสริม หอมกลิ่น, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกัญญาวีร์ ชาญวิกรัย-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.date.accessioned2022-12-06T04:15:41Z-
dc.date.available2022-12-06T04:15:41Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2327-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความสามารถในการชําระหนี้ของ สมาชิก 2) เปรียบเทียบปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความสามารถในการชําระหนี้ของสมาชิกและ 3) ให้ข้อเสนอแนะใน การแก้ไข้ ปัญหาการชําระหนี้ของสมาชิกสหกรณ์ยางพาราทองแสนขัน จํากัด การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสํารวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ สมาชิกสหกรณ์ยางพาราทองแสน ขัน จํากัด เฉพาะที่มีหนี้เงินกู้ระยะสั้นคงเหลือ ณ วันที่ 31 มกราคม 2560 จํานวน 98 คน โดยศึกษาจากประชากรทั้งหมด คือสมาชิกที่ชําระหนี้ได้ตามกำหนด จํานวน 62 คน และชําระหนี้ไม่ได้ตามกำหนด จํานวน 36 คน เครื่องมือในการเก็บ รวบรวมข้อมูลได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐานผลการศึกษาพบว่า 1) ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกบความสามารถในการชําระหนี้ของสมาชิก ประกอบด้วย (1) ปัจจัยภายใน ได้แก่ปัจจัยส่วนบุคคลของสมาชิก สมาชิกส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุอยู่ในช่วง 41 –55 ปี ศึกษา ในระดับประถมศึกษา สมรสแล้ว สมาชิกในครัวเรือน 3-4 คน ประกอบอาชีพได้ 1-2 คน ประกอบอาชีพไม่ได้ 1 -2 คน ทําสวนยางพาราเป็นหลัก มีกรรมสิทธ์ในที่ดิน พื้นที่ทําการเกษตร ตํ่ากว่า 10 ไร่ หนี้เงินกู้คงเหลือกับ สหกรณ์ระหว่าง 50 ,000-75,000 บาท ใช้บุคคลคํ้าประกัน ปัจจัยด้านเศรษฐกิจของสมาชิกรายได้ภาคการเกษตร 50,000 – 100,000 บาท/ปี และนอกภาคการเกษตรตํ่ากว่า 50,000 บาท /ปี รายจ่ายในและภาคการเกษตรตํ่ากว่า 50,000 บาท/ปี หนี้คงเหลือกับสถาบันการเงินสูงกว่า 100,000 บาท มูลค่าสินทรัพย์สูงกวา 500,000 บาท และ (2) ปัจจัยภายนอกที่เกี่ยวข้องกับความสามารถในการชําระหนี้ของสมาชิกทั้งที่ชําระหนี้ได้และชําระไม่ได้ภายใน ระยะเวลาที่กำหนด มีระดับความสําคัญ โดยรวมอยูในระดับมาก ได้แก่ ปัจจัยด้านภัยธรรมชาติ ด้านเศรษฐกิจ และการเมือง ด้านนโยบายของรัฐและด้านพฤติกรรมของสมาชิก ตามลําดับ 2) การเปรียบเทียบปัจจัยที่เกี่ยวข้อง กับความสามารถในการชําระหนี้ของสมาชิก ส่วนใหญ่แต่ละปัจจัยที่มีค่าเฉลี่ยใกล้เคียงกัน คือ ปัจจัยส่วนบุคคลของ สมาชิก ด้านพฤติกรรมของสมาชิก ด้านภัยธรรมชาติ ด้านเศรษฐกิจและการเมือง ด้านนโยบายของรัฐ ยกเว้น ปัจจัยด้านเศรษฐกิจของสมาชิก มีค่าเฉลี่ยไม่ใกล้เคียงกัน 3) ข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหาในการชําระหนี้ของ สมาชิกทั้งที่สามารถชําระหนี้ได้และชําระไม่ได้ตามกำหนด ที่ระดับความสําคัญอยู่ในระดับมาก คือ สหกรณ์ควร ลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ ขยายเวลาการชําระหนี้และจัดหาเงินทุนอัตราดอกเบี้ยตํ่าth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสมาชิกสหกรณ์ยางพาราทองแสนขัด จำกัดth_TH
dc.subjectการชำระหนี้--ไทย--อุตรดิตถ์th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สหกรณ์th_TH
dc.titleปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความสามารถในการชำระหนี้ของสมาชิกสหกรณ์ยางพาราทองแสนขัน จำกัด จังหวัดอุตรดิตถ์th_TH
dc.title.alternativeFactors related to the ability to pay debts of members of Yangphara Thong Saen Khon cooperative Ltd., Uttaradit Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สหกรณ์)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were 1) to study factors related to the ability to pay debts of members of Yangphara Thong Saen Khon Cooperative Ltd.; 2) to compare those factors; and 3) to give suggestion for solving the cooperative’s debt repayment problems. This was a survey research. The study population consisted of 98 members of Yangphara Thong Saen Khon Cooperative Ltd. who had outstanding short-term loans due as of 31 January 2017. Data were collected from the entire population, including both 62 members who were up to date on their loan repayments and 36 who were behind on their loan repayments. The data collection tool was a questionnaire. Statistical analysis consisted of frequency, percentage, mean and standard deviation. The results showed that 1) the factors related to the ability to pay debts consisted of internal and external factors. (1) Internal factors: personal factors – the majority of members were female, in the 41-55 age range, educated to primary school level, married, with 3-4 household members, of whom 1-2 were able to be employed and 1-2 were not able to be employed; para rubber plantation was their primary occupation; they owned their own land, on average less than 1.6 hectares; they owed 50,000-75,000 baht in loans to the cooperative, and they had used personal guarantors in lieu of collateral. Members’ economic factors- their average income from agriculture was in the range 50,000-100,000 a year and income from other than the agricultural sector was less than 50,000 baht a year; their average agricultural expenses were less than 50,000 baht a year; their debts to financial institutions were over 100,000 baht; and the value of their assets was over 500,000 baht. External factors: the external factors that affected the ability to repay debts of both members who were up to date on their loan repayments and those who were unable to make their loan repayments on time were all perceived by members to have a high level of importance. Those factors were natural disasters, economics, politics, government policy, and member behavior (ranked in order of perceived importance). 2) Comparison of the factors showed that most factors had mean scores that were very similar, consisting of personal factors, member behavior, natural disasters, economic and political factors, and government policy. The exception was members’ economic factors, which had an average score that was not close. 3) Both members who had repaid their loans and members who were unable to repay their loans on time gave a high approval rating for the suggestions that the cooperative should reduce its interest rates and extend the loan repayment period, and that the cooperative should find a source of low-interest capitalen_US
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
153834.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.86 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons