Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/236
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorน้ำทิพย์ วิภาวิน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorศุมรรษตรา แสนวา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวิกาญดา บุญคง, 2524--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2022-08-04T09:53:25Z-
dc.date.available2022-08-04T09:53:25Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/236-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2558th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อพัฒนาตัวบ่งชี้คุณภาพด้านการบริหารจัดการของห้องสมุดมหาวิทยาลัยราชภัฏเขตภาคเหนือ และ (2) เพื่อศึกษาตัวบ่งชี้คุณภาพที่เหมาะสมด้านการบริหารจัดการของห้องสมุดมหาวิทยาลัยราชภัฏเขตภาคเหนือ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือผู้บริหารและบุคลากรห้องสมุดที่รับผิดชอบการดำเนินงานการประกันคุณภาพของห้องสมุดมหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ ทั้ง 8 แห่ง จำนวน 48 คน การดำเนินการวิจัยประกอบด้วย 3 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการห้องสมุดเพื่อพัฒนาตัวบ่งชี้คุณภาพด้านการบริหารจัดการของห้องสมุดมหาวิทยาลัยราชภัฏเขตภาคเหนือโดยการวิเคราะห์เอกสารและทบทวนวรรณกรรม ขั้นตอนที่ 2 จัดทำ แบบสอบถามเพื่อศึกษาความเหมาะสมของตัวบ่งชี้คุณภาพด้านการบริหารจัดการ และขั้นตอนที่ 3 ยืนยันความเหมาะสมของตัวบ่งชี้คุณภาพด้านการบริหารจัดการ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบบันทึกข้อมูล และแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา การหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า (1) ตัวบ่งชี้คุณภาพด้านการบริหารจัดการของห้องสมุดมหาวิทยาลัยราชภัฏเขตภาคเหนือ ประกอบด้วย 11 องค์ประกอบ 29 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ องค์ประกอบด้านแผนกลยุทธ์/แผนปฏิบัติการ ด้านงบประมาณ ด้านการพัฒนาบุคลากร ด้านการจัดสภาพแวดล้อมในห้องสมุดให้มีบรรยากาศเอื้อต่อการเรียนรู้ ด้านการลดขั้นตอนการทำงาน ด้านการจัดการความรู้ ด้านระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ด้านการประชาสัมพันธ์ ด้านการวิจัย ด้านการประกันคุณภาพ และด้านประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ และ (2) ตัวบ่งชี้คุณภาพที่เหมาะสมด้านการบริหาร จัดการของห้องสมุดมหาวิทยาลัยราชภัฏเขตภาคเหนือโดยรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด ( X = 4.17) ได้แก่ ด้านการจัดสภาพแวดล้อมในห้องสมุดให้มีบรรยากาศเอื้อต่อการเรียนรู้ ด้านการจัดการความรู้และด้านแผนกลยุทธ์/แผนปฏิบัติการth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช-
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา--การบริหาร.--ไทยth_TH
dc.titleการพัฒนาตัวบ่งชี้คุณภาพด้านการบริหารจัดการของห้องสมุดมหาวิทยาลัยราชภัฎเขตภาคเหนือth_TH
dc.title.alternativeThe development of quality indicators for management of Northern Rajabhat Universities' Librariesen_US
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were 1) to develop quality indicators for management of Rajabhat University libraries in the Northern Region, and 2) to study the suitability of the quality indicators for management of Rajabhat University libraries in the Northern Region. The sampling consisted of 48 library administrators and staff who were responsible for quality assurance in Rajabhat University libraries in the Northern Region. The study consisted of three phases. The first phase was to study factors of library management from documents and literature reviews in order to develop quality indicators. The second phase comprised questionnaires to study the suitability of the quality indicators for management. The third phase was to confirm the suitability of the quality indicators for management of Rajabhat University libraries in the Northern Region. The instruments were data entry forms and questionnaires. The data were analyzed by means of content analysis, percentage, mean and standard deviation. The research findings can be summarized as follows: 1) the quality indicators for management of Rajabhat University libraries in the Northern Region consisted of 11 factors and 29 quality indicators, namely the factors in strategic and operational planning, budget, staff development, library atmosphere that fosters learning, reduction of the working process, knowledge management, management information system, public relation, research, quality assurance and management efficiency; 2) regarding the suitability of the quality indicators for management of Rajabhat University libraries in the Northern Region, overall they were at the high level. When considering each aspect, it was found that the suitable indicators at the highest level ( X =4.17) were library atmosphere that fosters learning, knowledge management, and strategic and operational planning.en_US
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
150606.pdfเอกสารฉบัยเต็ม21.04 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons