Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2375
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริพร สัจจานันท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorทิวากร ไชยฮั่ง, 2509--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2022-12-08T06:35:47Z-
dc.date.available2022-12-08T06:35:47Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2375-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความแตกต่างของการจัดเก็บข้อมูลระหว่าง วิธีทางตรงและทางอ้อม (2) วิเคราะห์ปัจจัยที่กำหนดความแตกต่างระหว่างวิธีทางตรงและทางอ้อม (3) ศึกษาว่าวิธีการจัดเก็บแบบใดมีความเหมาะสมและสามารถสะท้อนถึงสภาพเศรษฐกิจจังหวัด ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยนำข้อมูลผลิตภัณฑ์ จังหวัดลำพูนปี พ.ศ. 2549 ซึ่งจัดเก็บแบบทางข้อมูลของสำนักงาน คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) มาเปรียบเทียบกับการจัดเก็บ ผลิตภัณฑ์จังหวัดแบบทางตรง ที่จัดเก็บโดยคณะทำงานการจัดทำผลิตภัณฑ์จังหวัดลำพูน ซึ่งใช้ การวิเคราะห์ทางสถิติอย่างง่าย โดยใช้แผนภูมิ กราฟ ตารางเปรียบเทียบ และสถิติในเชิงพรรณนา ในรูปแบบของสัดส่วน และร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า (1) มูลค่าเพิ่มการผลิต โครงสร้างการผลิต อัตราการขยายตัว และ อัตราการขยายตัว ที่แท้จริงระหว่างปีของผลิตภัณฑ์จังหวัดลำพูน ทั้ง 2 วิธี มีความแตกต่างกันมาก ทั้งภาพรวมของจังหวัด และในรายสาขาการผลิต (2) ปัจจัยที่กำหนดให้การจัดทำผลิตภัณฑ์จังหวัด ทั้งสองวิธีมีความแตกต่างกัน คือวิธีการจัดเก็บที่แตกต่างกัน (3) การจัดเก็บโดยวิธีทางตรงมีความ เหมาะสม และสามารถสะท้อนให้เห็นถึงภาวะเศรษฐกิจที่แท้จริงของจังหวัด ได้อย่างมี ประสิทธิภาพมากกว่าการจัดเก็บโดยวิธีทางอ้อม ดังนั้นจากการศึกษาจังหวัดควรประเมินการจัดทำ ผลิตภัณฑ์จังหวัดทั้งสามด้านเพื่อเป็นการสอบทานความถูกต้องของข้อมูล และควรมีหน่วยงาน หลักที่เป็นหน่วยงานกลางทางวิชาการและการประมวลผลที่สามารถให้คำแนะนำและทำความ เข้าใจในกรอบแนวคิด วิธีการประมวลผล และการคำนวณผลิตภัณฑ์จังหวัดได้อย่างต่อเนื่องth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectผลิตภัณฑ์th_TH
dc.subjectการเปรียบเทียบจุดเด่น (การจัดการ)th_TH
dc.titleการวิเคราะห์เปรียบเทียบการจัดทำผลิตภัณฑ์จังหวัดในรูปแบบทางตรงและทางอ้อม : กรณีศึกษาจังหวัดลำพูนth_TH
dc.title.alternativeA comparative analysis of the estimation of the gross provincial product by direct vs. indirect way : a case study of Lamphun Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
117764.pdf10.04 MBเอกสารฉบับเต็มView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons