Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2392
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรัชฎาพร เลิศโภคานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนงลักษณ์ สมเชื้อ, 2519--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2022-12-09T04:16:32Z-
dc.date.available2022-12-09T04:16:32Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2392-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ปัจจัยด้านบุคคลที่ส่งผลต่อการลาออกของ บุคลากร ด้านบัญชี ของกลุ่มบริษัทธุรกิจกระดาษ 2) ปัจจัยด้านองค์กรที่ส่งผลต่อการลาออกของ บุคลากรด้านบัญชี ของกลุ่มบริษัทธุรกิจกระดาษ และ 3) ปัญหาและแนวทางแก้ไขปัญหาการลาออก ของบุคลากรด้านบัญชี ของกลุ่มบริษัทธุรกิจกระดาษ ในเขตนิคมอุตสาหกรรม 304 การศึกษาครั้งนี้ใช้วิธีการเชิงสำรวจ โดยทำการเก็บข้อมูลปฐมภูมิจากแบบสอบถามที่ เก็บรวบรวมจากบุคลากรด้านบัญชี ซึ่งทำงานในกลุ่มบริษัทธุรกิจกระดาษ ในเขตอุตสาหกรรม 304 จำนวน 42 บริษัท โดยใช้การสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ ขนาดของตัวอย่างกำหนดโดยใช้สูตร การคำนวณของ ทาโร่ ยามาเน่ ข้อมูลส่วนบุคคลที่ได้นำมาวิเคราะห์โดยใช้สถิติอย่างง่าย ประกอบด้วย ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานในส่วนของข้อมูลด้านองค์กรที่ส่งผล ต่อการลาออก วิเคราะห์โดยใช้ไคสแควร์ และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า 1) ปัจจัยด้านบุคคลที่ส่งผลต่อการลาออกจากงาน คือ ปัจจัยด้าน รายได้ ส่วนปัจจัยด้านเพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา ตำแหน่งงาน ประสบการณ์ทำงาน ด้านบัญชี ค่าใช้จ่าย และจำนวนครั้งของการเปลี่ยนงานในรอบสิบปีไม่ส่งผลต่อการลาออก ณ ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 2) ปัจจัยด้านองค์กรที่ส่งผลต่อการลาออก ได้แก่ ปัจจัยด้านเงินเดือน และสวัสดิการ ส่วนปัจจัยด้านการบริหารงาน ด้านความสัมพันธ์กับผู้บังคับบัญชา และเพื่อน ร่วมงาน ด้านสภาพแวดล้อมและสิ่งอำนวยความสะดวก ด้านการปกครองบังคับบัญชา และด้าน ความมั่นคงในงานไม่ส่งผลต่อการลาออก ณ ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 3) ปัญหาที่ส่งผลต่อ การลาออกของพนักงานมากที่สุดคือ ปัญหาด้านสวัสดิการที่ไม่เพียงพอต่อความต้องการ และ แนวทางแก้ไขคือ ให้ปรับปรุงสวัสดิการของพนักงานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectนักบัญชี -- การลาออกth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ -- เศรษฐศาสตร์th_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลให้เกิดการลาออกของบุคลากรด้านบัญชีของกลุ่มบริษัทธุรกิจกระดาษในเขตนิคมอุตสาหกรรม 304th_TH
dc.title.alternativeFactors affecting resignation of accounting staff in the paper business group in 304 Industrial Estatesth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to study 1) the personal factor affecting resignation of accounting staff in the Paper Business Group 2) the organization factors affecting resignation of accounting staff in the Paper Business Group and 3) the problems and guidelines to solve resignation of accounting staff in the Paper Business Group in 304 Industrial Estates. This study used survey method by collecting primary data from sample group of accounting staff in 42 companies by using questionnaire. Sample size of this study used Taro Yamane formula. Personal data were analyzed by simple statistics including frequency percentage means and standard deviation. Chi-squares and Pearson's Correlation Coefficient were used in the analysis of the factors affecting resignation in the organization. The results of the study are as follows: 1) the personal factor affecting employee resignation is revenue at 0.05 significant level. The factors not affecting with employee resignation include gender, age, marital status, graduate, work experience, and the number of jobs changed in the past ten years 2) the organization factors affecting with employee resignation are salary and welfare. The factors on management, relations with bosses and colleagues, environment and facilities, the rule and job stability do not affect the employee resignation at 0.05 significant level. 3) the upmost problem affects the resignation of employees is the inadequate welfare at work and the solution is to improve the welfare of employeesen_US
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
150173.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.34 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons