Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2407
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรพรรณ ศรีเสาวลักษณ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนิตยา นวลศิริ, 2521--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2022-12-13T03:14:01Z-
dc.date.available2022-12-13T03:14:01Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2407-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาพฤติกรรมการบริโภค และ 2) วิเคราะห์ ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อพฤติกรรมการบริโภค การออมและการลงทุนของครัวเรือนเกษตรกร ชาวสวนปาล์มน้ำมัน ในอำเภอเขาพนม จังหวัดกระบี่ ข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์คือข้อมูลปฐมภูมิที่ได้มาจากการ สัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 100 ตัวอย่าง ในปี พ.ศ. 2553 ผลจากการศึกษาพบว่า 1) เกษตรกรมีพื้นที่ปลูกปาล์มน้ำมัน เฉลี่ย 47.24 ไร่ต่อ ครัวเรือน ผลผลิตปาล์มน้ำมัน ที่ได้รับเฉลี่ย 6,898 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี มีรายได้จากการขายผลผลิต ปาล์มน้ำมัน เฉลี่ย 24,882 บาทต่อไร่ต่อปี โดยส่วนใหญ่ ค่าเฉลี่ยในการออมต่อปี เป็นเงิน 113,607 บาท ค่าเฉลี่ยในการลงทุนต่อปีเงิน 203,077 บาท และค่าเฉลี่ยในการอุปโภคบริโภคต่อปีเป็นเงิน 451,452.6 บาท ค่าใช้จ่ายด้านการศึกษาเป็นค่าใช้จ่ายสูงสุด ส่วนการใช้จ่ายด้านต้นทุนการผลิต สูงสุดและมีสัดส่วนสูงมากเมื่อเปรียบเทียบกับต้นทุนประเภทอื่น คือค่าปุ๋ย 2) ปัจจัยที่มีผลกระทบ ต่อพฤติกรรมการบริโภค คือ พื้นที่ปลูกปาล์มน้ำมัน และรายได้ของหัวหน้าครัวเรือนเกษตรกร ทั้ง 2 ตัวแปร มีนัยสำคัญทางสถิติ ณ ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 99 ส่วนปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการออม ได้แก่ พื้นที่ปลูกปาล์มน้ำมัน และรายได้ของหัวหน้าครัวเรือนเกษตรกร เช่นเดียวกัน ณ ระดับความ เชื่อมั่นร้อยละ 95 และร้อยละ 99 ตามลำดับ สำหรับ ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการลงทุนได้แก่ พื้นที่ ปลูกปาล์มน้ำมัน ที่มีนัยสำคัญทางสถิติ ณ ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 และรายได้ของหัวหน้า ครัวเรือนเกษตรกร ณ ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 99 ทั้งนี้อาจเป็นเพราะว่าครัวเรือนเกษตรกรที่มี พื้นที่ปลูกปาล์มน้ำมัน จำนวนมากเปรียบเสมือนการมีหลักประกันความมั่นคงของครัวเรือน จึงทำ ให้สามารถเสี่ยงที่จะลงทุนได้มากกว่าครัวเรือนที่มีพื้นที่น้อย อีกประเด็นหนึ่งที่เป็นที่น่าสังเกตคือ ครัวเรือนเกษตรกรมีพฤติกรรมการเลือกที่จะนำเงินรายได้มาใช้ในการลงทุนมากกว่าจะนำเงิน รายได้มาออมth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectครัวเรือน -- ไทย -- กระบี่th_TH
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภค -- ไทย -- กระบี่th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ -- เศรษฐศาสตร์th_TH
dc.titleพฤติกรรมการบริโภคของครัวเรือน : กรณีศึกษาครัวเรือนเกษตรกรชาวสวนปาล์มน้ำมันในอำเภอเขาพนม จังหวัดกระบี่th_TH
dc.title.alternativeHousehold consumption behavior : case study of palm oil farmer households in Khaophanom District, Krabi Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to: 1) study household consumption; and 2) analyse factors influencing consumption, savings and investments of oil palm planters in Khao Phanom district, Krabi province. The analysis is based on interviews of 100 farmers in 2010. The results of the study were as follows. 1) An average size of land holding was 47.24 rai, an average yield was 6,898 kg/rai/year, and estimated income per rai was 24,882 Baht. The study found that the average amount of savings per annum was 113,606.56 Baht. The average investment per annum is 203,076.92 Baht. An average household expenditure per year was 451,452.6 Baht. The highest expenditure item among household expenditure was on children’s education whereas fertilizer cost was the highest expenditure item compared to other types of production expenditures. 2) Factors that influenced household consumption included farm size and household income. Both were statistically significant at 99% level of confidence. The 2 factors also that influenced savings, the former at 95% level of confidence and the latter at 99%. Farm size and household income also influenced investment at 95% and 99% level of confidence reespectively. The influence of farm size may be due to the fact that the existence of fixed assets and higher level of income allows the farmers to take greater risks compared to farmers with smaller holdings. Results also indicated that there is higher propensity for farmers to spend net earnings for investment purposes rather than to saveen_US
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
137348.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.23 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons