Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2409
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมนูญ โต๊ะยามา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนิตยา คูณมา, 2527--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2022-12-13T03:33:55Z-
dc.date.available2022-12-13T03:33:55Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2409-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) พฤติกรรมการออม 2) ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผล ต่อการออม 3) ความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยอื่นๆ ที่มีผลต่อการออม และ 4) ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อ ปริมาณเงินออมของพนักงานเทศบาล ในอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม การศึกษาใช้ข้อมูลปฐมภูมิ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือรวบรวมข้อมูลจากตัวอย่าง ซึ่งเป็นพนักงานเทศบาล ในอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม จำนวน 5 แห่ง จำนวน 300 คน โดยวิธี สุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วยค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน ไคสแควร์ การวิเคราะห์ความแปรปรวน แบบจำลองการถดถอยโลจิสติก และการ ถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า 1) การออมของพนักงานเทศบาลที่ศึกษาส่วนใหญ่อยู่ในรูปแบบของเงิน ฝากกับธนาคารพาณิชย์ รองลงมา คือ การออมในรูปของเงินสด โดยมีวัตถุประสงค์การออม เพื่อสร้าง หลักประกันชีวิตและความมั่นคงทางการเงิน รองลงมา คือ เพื่อเก็บไว้ใช้จ่ายในยามชรา มีการออมเงินเฉลี่ย 2,560.46 บาทต่อเดือน และพบว่า ระยะเวลาการออมและรูปแบบการออม ขึ้นอยู่ กับประเภทพนักงาน ระยะเวลาการทำงานและรายได้ของพนักงาน ที่ระดับนัยสำคัญ .05 2) ปัจจัยส่วน บุคคลที่มีผลต่อโอกาสในการออมของพนักงานเทศบาล ที่ระดับนัยสำคัญ .05 ได้แก่ อายุ และประเภท พนักงาน โดยอายุมีโอกาสในการออมในทิศทางตรงกันข้าม ส่วนพนักงานจ้างทั่วไปมีโอกาสในการ ออมมากกว่าพนักงานประเภทอื่น 3) ด้านความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยอื่นที่มีผลต่อการออม ปัจจัยด้าน ความมั่นคงมีผลต่อการออมในระดับสูงกว่าปัจจัยอื่นๆ รองลงมาด้านเศรษฐกิจและสังคม ผลตอบแทน และการโฆษณาและสิ่งจูงใจ และปัจจัยส่วนบุคคลต่างกันมีความคิดเห็นต่อปัจจัยเศรษฐกิจและสังคมที่ ระดับนัยสำคัญ .05 มากกว่าปัจจัยอื่น และ4) ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อปริมาณเงินออมของพนักงาน เทศบาล ที่ระดับนัยสำคัญ .05 ได้แก่ รายได้ ภาระหนี้สิน และค่าใช้จ่าย โดยรายได้มีความสัมพันธ์ใน ทิศทางเดียวกันกับปริมาณเงินออม ส่วนหนี้สิน ค่าใช้จ่าย มีความสัมพันธ์ในทิศทางตรงกันข้ามกับ ปริมาณเงินออมth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณี.th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการประหยัดและการออม -- ไทย -- นครปฐมth_TH
dc.subjectพนักงานเทศบาล -- การเงินส่วนบุคคลth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ -- เศรษฐศาสตร์th_TH
dc.titleการออมของพนักงานเทศบาลในอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐมth_TH
dc.title.alternativeSavings of municipal officers in Samphran District, Nakhonpathom Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study: 1) saving behavior; 2) personal factors affecting the savings; 3) opinions concerning other factors towards the savings; and 4) the personal factors influencing the amount savings of municipal officers in Sam Phran District, Nakhon Pathom Province. The study used primary data by employing questionnaire as a tool to collect data from the samples. The samples comprised 300 municipal officers from 5 municipalities in Sam Phran District, Nakhon Pathom Province, who were selected through stratified sampling method. Statistics used for analyzing the data consisted of frequency, percentage, mean, standard deviation, chi-square, ANOVA, logistic and multiple regression models. Research results were found as follows. 1) Most of the municipal officers’ savings were found in form of commercial banks deposits and cash respectively. The purposes of savings were for building their life and financial securities and for spending at old ages, respectively. Their average saving was 2,560.46 baht per month. The period of savings and saving pattern were found depending on the employee type, period of employment and income at significant level of 0.05. 2). Personal factors which affected their saving opportunity, at significant level of 0.05, included age and employee type. Age was revealed as a negative relationship with the saving opportunity, while the general employees indicated more opportunities for the savings than other types of employees. 3) Concerning their opinions influencing their savings, the security factors revealed affecting the savings at the level higher than other factors, followed by social and economic factors, saving return, and incentives and advertising, respectively. Different personal factors were found influencing the social and economic factors more than other factors at significant level of 0.05. 4) Personal factor determining the amount of savings, included income, liabilities and expenses, at significant level of 0.05. Regarding the relationship direction with the savings, their income showed the same way while the two factors exposed the opposite oneen_US
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
150166.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.15 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons