Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2410
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธัญญรัศม์ วศวรรณวัฒน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorซากีนะ บือราเฮง-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.date.accessioned2022-12-13T03:46:16Z-
dc.date.available2022-12-13T03:46:16Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2410-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการใช้หลักธรรมาภิบาลในการ บริหารงานของสหกรณ์การเกษตร สหกรณ์บริการ และสหกรณ์ออมทรัพย์ในจังหวัดยะลา และ 2) เปรียบเทียบ การใช้หลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานของสหกรณ์ในจังหวัดยะลา จำแนกตามประเภทและขนาดของสหกรณ์ ประชากรที่ศึกษา ประกอบด้วย สหกรณ์การเกษตร 34 สหกรณ์ สหกรณ์บริการ 6 สหกรณ์ และ สหกรณ์ออมทรัพย์ 12 สหกรณ์ รวม 52 สหกรณ์ เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม ผู้ตอบแบบสอบถาม คือ ประธานคณะกรรมการดำเนินการแต่ละสหกรณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษา พบว่า 1) การใช้หลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานของสหกรณ์การเกษตร สหกรณ์บริการ และสหกรณ์ออมทรัพย์ในจังหวัดยะลาโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า มีการใช้หลักธรรมาภิบาลในระดับปานกลางทั้ง 6 ด้าน เรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านหลัก ความรับผิดชอบ หลักนิติธรรม หลักการมีส่วนร่วม หลักความคุ้มค่า หลักความโปร่งใส และหลักคุณธรรม 2) การ เปรียบเทียบการใช้หลักธรรมาภิบาล ในการบริหารงานจำแนกตามประเภทสหกรณ์ พบว่าโดยรวมการ บริหารงานของสหกรณ์ออมทรัพย์ปฏิบัติตามหลักธรรมาภิบาลได้ในระดับมาก สูงกว่าสหกรณ์บริการและ สหกรณ์การเกษตรซึ่งปฏิบัติอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อเปรียบเทียบตามขนาดของสหกรณ์ พบว่าการบริหารงาน ของสหกรณ์การเกษตรทุกขนาดปฏิบัติตามหลักธรรมาภิบาลได้ในระดับปานกลางทั้งโดยภาพรวมและรายด้าน ยกเว้นการบริหารงานของสหกรณ์การเกษตรขนาดกลางในด้านหลักคุณธรรมและหลักความคุ้มค่า ที่ปฏิบัติไม่ได้ ตามเกณฑ์ และการบริหารงานของสหกรณ์การเกษตรขนาดใหญ่ ในด้านนิติธรรมที่ปฏิบัติได้ตามเกณฑ์ในระดับ มาก ส่วนสหกรณ์บริการทั้งขนาดกลางและขนาดใหญ่ ปฏิบัติตามหลักธรรมาภิบาลได้โดยรวมและทุกด้านใน ระดับปานกลาง ส่วนสหกรณ์ออมทรัพย์ทั้งขนาดใหญ่และใหญ่มากการปฏิบัติตามหลักธรรมาภิบาลโดยภาพรวม และรายด้านอยู่ในระดับมาก ยกเว้น สหกรณ์ออมทรัพย์ขนาดใหญ่ปฏิบัติในด้านหลักคุณธรรมและความโปร่งใส ได้ในระดับปานกลางth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสหกรณ์การเกษตร--ไทย--ยะลา--การบริหารth_TH
dc.subjectสหกรณ์บริการ--ไทย--ยะลา--การบริหารth_TH
dc.subjectสหกรณ์ออมทรัพย์--ไทย--ยะลา--การบริหารth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สหกรณ์th_TH
dc.titleการใช้หลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานของสหกรณ์การเกษตร สหกรณ์บริการ และสหกรณ์ออมทรัพย์ ในจังหวัดยะลาth_TH
dc.title.alternativeApplication of the princples of good governance in the management of Agricultural Cooperatives, Service Cooperatives and Savings Cooperatives in Yala Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สหกรณ์)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were 1) to study the application of the principles of good governance in the management of agricultural cooperatives, service cooperatives and savings cooperatives in Yala province; and 2) to compare the use of the principles of good governance by different cooperatives in Yala, classified by type and size. The population consisted of 34 agricultural cooperatives, 6 service cooperatives, and 12 savings cooperatives, for a total of 52 cooperatives. The research tool was a questionnaire and the respondents were the chairmen of the board of directors of each cooperative. Data were analyzed using frequency, percentage, mean and standard deviation. The results showed that 1) overall, the cooperatives surveyed applied all 6 principles of good governance to a medium level. The highest mean scores were for responsibility/accountability, Rule of Law, participation, value efficiency, and transparency, in that order, and the lowest mean score was for integrity. 2) A comparison of the different types and sizes of cooperatives showed that overall, the savings cooperatives implemented the principles of good governance to a high degree while the agricultural cooperatives and the service cooperatives implemented them to a medium degree. By size, agricultural cooperatives of every size had very similar scores (medium level) for compliance with all 6 principles of good governance, with the exception of medium-sized agricultural cooperatives, which on average were below standard for their compliance with the principles of integrity and value efficiency, and large-sized agricultural cooperatives outperformed the other sizes for the principle of Rule of Law, getting a score of “high” instead of “medium.” As for service cooperatives, both medium-sized and large-sized service cooperatives had medium level scores for all 6 principles of good governance. Large-sized and very large-sized savings cooperatives reported high levels of application of most of the principles, but large-sized savings cooperatives reported only medium levels of application of the principles of integrity and transparencyen_US
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
143350.pdfเอกสารฉบับเต็ม17.79 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons