Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2412
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorส่งเสริม หอมกลิ่น, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorฐิติชญาณ์ เพิ่มผลสมบัติ-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.date.accessioned2022-12-13T04:05:34Z-
dc.date.available2022-12-13T04:05:34Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2412-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยทางเศรษฐกิจ ปัจจัยทางสังคม และ ปัจจัยด้านสหกรณ์ที่มีผลต่อพฤติกรรมการออมของสมาชิก 2) พฤติกรรมการออมของสมาชิก และ3) ความสัมพันธ์ระหว่าง ปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยทางเศรษฐกิจ ปัจจัยทางสังคม และปัจจัยด้านสหกรณ์กับพฤติกรรมการออมของสมาชิกสหกรณ์ ออมทรัพย์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี จํากัด จังหวัดนครราชสีมา ประชากรที่ศึกษา คือ สมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี จํากัด ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ.2559 จํานวน 1,088 คน ศึกษาจากกลุ่มตัวอย่าง กำหนดขนาดตัวอย่างโดยใช้สูตรของยามาเนย์ จํานวน 293 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ความถี่ร้อยละค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และไคสแควร์ ผลการศึกษาพบวา 1) สมาชิกส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงอายุระหว่าง 41- 50 ปี ระดับการศึกษาสูงสุดระดับ ปริญญาตรี ตําแหน่งงานลูกจ้างประจํา/เจ้าหน้าที่มหาวิทยาลัย สถานภาพโสด และ ระยะเวลาการเป็นสมาชิกสหกรณ์ 11-15 ปี รายได้และรายจ่ายเฉลี่ยต่อเดือน 30,001-40,000 บาท จํานวนผู้มีเงินได้ในครอบครัว 2 คน จํานวนคน ในครอบครัว มากกว่า 3 คน และ ไม่มีบุตรที่อยู่ระหว่างการศึกษา ระดับความสําคัญของปัจจัยด้านสหกรณ์โดย รวมอยูในระดับมาก ที่สําคัญ คือ รูปแบบการออมให้เลือกหลากหลาย และ ชื่อเสียงและความน่าเชื่อถือของสหกรณ์ 2) พฤติกรรมการออมของสมาชิก ส่วนใหญ่ถือหุ้น 1,000-2,000 บาทต่อครั้ง ฝากเงินประเภทออมทรัพย์ 2,001- 3,000 บาทต่อครั้ง วัตถุประสงค์เพื่อต้องการออมทรัพย์เพิ่มเติมจากการสะสมค่าหุ้นรายเดือน และใช้จ่ายในวัยชรา/เจ็บป่วย/ จําเป็น และ บุคคลที่มีผลต่อการตัดสินใจในการออมคือ ตัวเอง และบุคคลในครอบครัว 3) พบว่ามี ความสัมพันธ์ของ ปัจจัยต่างๆ กับพฤติกรรมการออม อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดย ปัจจัยส่วนบุคคล เพศ อายุระดับ การศึกษาสูงสุด ตําแหน่งงาน สถานภาพ และ ระยะเวลาการเป็นสมาชิกสหกรณ์มีความสัมพันธ์กับจํานวนเงินค่าหุ้น ต่อครั้ง ประเภทของเงินรับฝากและจํานวนเงินรับฝากต่อครั้ง ปัจจัยทางเศรษฐกิจรายได้เฉลี่ยต่อเดือน และ รายจ่าย เฉลี่ยต่อเดือน มีความสัมพันธ์กับ จํานวนเงินค่าหุ้นต่อครั้ง ประเภทของเงินรับฝากและจํานวนเงินรับฝากต่อครั้ง ปัจจัยทางสังคม จํานวนผู้มีเงินได้ในครอบครัวจํานวนสมาชิกในครอบครัว และ จํานวนบุตรที่อยู่ระหว่างการศึกษา มีความสัมพันธ์กับจํานวนเงินค่าหุ้นต่อครั้ง ประเภทของเงินรับฝากและจํานวนเงินรับฝากต่อครั้ง ปัจจัยด้านสหกรณ์ รูปแบบการออมให้เลือกหลากหลาย ชื่อเสียง และความน่าเชื่อถือของสหกรณ์อัตราดอกเบี้ยเงินฝาก ผลตอบแทน ที่ได้รับเหมาะสม คุ้มค่า สิทธิประโยชน์ทางภาษีสถานที่ตั้ง สิ่งอํานวยความสะดวกการนําระบบคอมพิวเตอร์มา ให้บริการการบริการของเจ้าหน้าที่ และ การโฆษณา ประชาสัมพันธ์มีความสัมพันธ์กับ จํานวนเงินค่าหุ้นต่อครั้ง ประเภทของเงินรับฝากและจํานวนเงินรับฝากต่อครั้งth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสหกรณ์ออมทรัพย์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี--สมาชิกth_TH
dc.subjectการประหยัดและการออมth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สหกรณ์th_TH
dc.titleพฤติกรรมการออมของสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี จำกัด จังหวัดนครราชสีมาth_TH
dc.title.alternativeSaving behavior member's of the Suranaree University of Technology Savings and Credit Cooperatives Limited., Nakhon Ratchasima Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สหกรณ์)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to study 1) individual factor, economic factor, social factor and cooperatives factor affecting members’ savings, 2) members’ savings behavior, and 3) relationships between individual factor, socio-economic factor and cooperatives factor with members’ savings behavior of Suranaree University of Technology Savings and Credit Cooperatives Ltd., Nakhon Ratchasima Province. Studied population comprised 1,088 members of the Suranaree University of Technology Savings and Credit Cooperatives Ltd., as of December 31, 2016. A number of 293 members were selected by identified from Yamane formula. Instrument tool was interview form. Data obtained was statistically analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation and chi-square. Findings: 1) most of the members were single female and bachelor degree holders. Their average age was 41-50 years. Their membership duration was between 11-15 years. Their monthly average income and expense was 30,001-40,000 baht and only 2 taxpayers in their families. There were more than 3 persons in their families and no children in school age. Significance level of overall cooperatives factor was at high level, especially diverse savings patterns, high reputation and credit of the Cooperatives. 2) For members’ savings behavior, most of them were 1,000-2,000 baht/time shareholders and deposited in savings account 2,001-3,000 baht/time. Their purpose was to save additionally from monthly shares, for spending when getting old/sick as needed. Those affecting their savings decision included themselves and family members. 3) There was a relationship of various factors with savings behavior at 0.05 statistical significance. In terms of individual factor, it was discovered gender, age, education background, position, status and cooperatives membership duration had relationship with amount of share/time, deposit category and deposit amount/time. In terms of economic factor, average monthly income and average monthly expense had relationship with amount of share/time, deposit category and amount of deposit/time. In terms of social factor, number of family taxpayers, number of family members and number of children in school age had relationship with amount of share/time, deposit type and amount of deposit/time. In terms of cooperatives factor, findings were diversity of savings patterns, reputation and credit of the Cooperatives, deposit interest rate, appropriate and worthwhile dividend, tax benefit, location, facilities, computerized services, staff services and public relations had relationship with amount of share/time, deposit type and amount of deposit/timeen_US
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
154966.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.42 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons