Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2420
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorส่งเสริม หอมกลิ่น, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวินัย จันทร์ทับทอง, 2524--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.date.accessioned2022-12-14T07:39:42Z-
dc.date.available2022-12-14T07:39:42Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2420-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ลักษณะส่วนบุคคลของคณะกรรมการดำเนินการ 2) การใช้ข้อมูลทางบัญชีการเงินเพื่อกาบริหารงานของคณะกรรมการดำเนินการ และ 3) ปัญหาอุปสรรคในการใช้ข้อมูลทางบัญชีการเงินเพื่อ การบริหารงานของคณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์ออมทรัพย์ในจังหวัดอุตรดิตถ์ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ คณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์ออมทรัพย์ในจังหวัดอุตรดิตถ์์ทั้งหมด จำนวน 9 สหกรณ์ คณะกรรมการดำเนินการทั้งหมดจำนวน 128 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษา พบว่า 1) คณะกรรมการดำเนินการส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุระหว่าง 51 - 60 ปี จบการศึกษาระดับปริญญาตรี ส่วนใหญ่จบการศึกษาด้านการศึกษาและด้านอื่นๆ ที่ไม่เกี่ยวกับบัญชีและการบริหารธุรกิจ ดำรงตำแหน่งกรรมการ และมีประสบการณ์ในการดำรงตำแหน่งอยู่ระหวา่ง 1 - 4 ปี 2) การใช้ข้อมูลทางบัญชการเงินเพื่อการบริหารงานของคณะกรรมการดำเนินการ โดยรวมอยู่ในระดับมาก การใช้ในระดับมากที่สุด คือ รายงานผลการดำเนินงานประจำเดือนและงบทดลองประจกเดือน และรายงานการสอบบัญชีของผู้สอบบัญชีตามลำดับ การใช้ข้อมูลทางบัญชีการเงินเพื่อการบริหารด้านการวางแผน การควบคุม และการตัดสินใจอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยใช้ข้อมูลเพื่อการบริหารด้านการควบคุมสูงสุด รองลงมาคือ ด้านการตัดสินใจ และด้านการวางแผนตามลำดับ ด้านการควบคุมอยู่ในระดับมากที่สุด คือ การใช้ข้อมูลรายงานผลการดำเนินประจำเดือนเพื่อการควบคุม การดำเนินงานของสหกรณ์ ด้านการตัดสินใจ คือ การใช้ข้อมูลรายงานผลการดำเนินงานประจำเดือนในการตัดสินสินใจเพิ่ม/ลด ปริมาณธุรกิจ และการใช้ข้อมูลจากรายงานทางการเงินประกอบการขออนุมัติวงเงินกู้ยืมของสหกรณ์ และด้านการวางแผนคือการใช้ข้อมูลรายงานผลดำเนินงานประจำเดือนในการกำหนดแผนการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ 3) ปัญหาอุปสรรคในการใช้ข้อมูลทางบัญชีการเงินโดยรวมอยู่ในระดับน้อย และที่สำคัญ อยู่ในระดับปานกลาง คือ ความรู้ทางด้านบัญชีการเงินไม่เพียงพอ และอยู่ในระดับน้อย คือ มีความรู้ในการนำงบการเงินไปใช้ในการบริหารงานไม่เพียงพอ และอุปกรณ์หรือเครื่องมือสำหรับใช้จัดทำงบการเงินหรือรายงานทางบัญชีไม่ทันสมัยth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสหกรณ์ออมทรัพย์--การบริหาร.--ไทย--อุตรดิตถ์th_TH
dc.titleการใช้ข้อมูลทางบัญชีการเงินเพื่อการบริหารงานของคณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์ออมทรัพย์ในจังหวัดอุตรดิตถ์th_TH
dc.title.alternativeUse of financial accounting data of the committees for the saving and credit cooperatives management in Uttaradit Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สหกรณ์)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study 1 ) personal data of the committees of savings and cradit cooperatives in Uttaradit Province ; 2 ) their use of financial accounting data in their management work ; and 3 ) problems involved with their use of financial accounting data in their management work. The study population consisted of 128 of the committees of 9 savings and credit cooperatives in Uttaradit Province. Data were statistically analyzed using frequency, percentage, mean and standard deviation. The results showed that 1) the majority of the committees were male, in the 51-60 age range, and educated to bachelor’s degree level. Most had earned their degrees in education or another field not related to accounting or business management. Most had served in the position of committee for 1 to 4 years. 2) Overall, the committees used financial accounting data in their management work to a high level. The highest score was for making monthly performance reports and monthly test budgets, followed by for reporting on the accountant’s audits. The committee also reported using financial accounting data to a high level in their planning, control and decision-making work. The highest score was for use in control work, followed by decision making and planning, in that order. For control work, the committees used data from the cooperative’s monthly operations reports to the highest degree to control the cooperative’s operations. For decision-making, they used data from the cooperative’s monthly operations reports to make decisions on increasing or decreasing different business volume and used data from the cooperative’s financial records to ask for loans. In planning work, they used data from the cooperative’s monthly operations reports in setting the business plan. 3) Overall, the committees reported having a low level of problems with using financial accounting data in their management work. The most serious problem (medium level) was insufficient knowledge about accounting. They had a low level of difficulty about insufficient knowledge about utilization of balance sheets in management work and lack of modern equipment for preparing accounts and balance sheets.-
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext-151036.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.24 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons