Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2425
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริพร สัจจานันท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเบญจมาศ สงวนวงษ์, 2500--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2022-12-14T08:55:38Z-
dc.date.available2022-12-14T08:55:38Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2425-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่างและปัจจัยที่เป็น ตัวกำหนดความแตกต่างในการจัดทำผลิตภัณฑ์จังหวัดในรูปแบบทางอ้อม ดำเนินการโดยวิธีการ กระจายมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ จากในระดับภาพรวมพื้นที่ทั้งประเทศ จำแนกย่อย ออกมาเป็นตัวเลขผลิตภัณฑ์จังหวัด และวิธีการทางตรงเป็นการจัดเก็บข้อมูลกิจกรรมการผลิตทุก กิจกรรมที่เกิดขึ้นจริงในพึ้นที่ของแต่ละจังหวัดและนำมาคำนวณหามูลค่าเพิ่มตามวิธีการที่ สอดคล้องกับระบบบัญชีประชาชาติ ข้อมูลที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย ข้อมูลผลิตภัณฑ์จังหวัด ณ ราคาประจำปี พ.ศ.2546-2548 ซึ่งจัดเก็บด้วยวิธีทางอ้อมโดยสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ และการจัดเก็บด้วยวิธีทางตรงโดยสำนักงานคลังจังหวัดสุโขทัย ในการเก็บรวบรวม ข้อมูล คึอ การศึกษาค้นคว้าเอกสารทางวิชาการ ผ่าน Website และหนังสือสั่งการ คู่มือ ต่าง ๆ ที่ เกี่ยวข้องรวมทั้งการขอข้อมูลผลิตภัณฑ์จังหวัดโดยตรงจากเข้าของข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล คือ ร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า (1) การจัดทำผลิตภัณฑ์จังหวัดในรูปแบบทางล้อมและทางตรง มี ความแตกต่างกัน ในด้านมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บได้ ด้านโครงสร้างของสาขาการผลิต และอัตราการ เจริญเติบโตทางเศรบฐกิจ (2) ปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดความแตกต่าง ในการจัดทำผลิตภัณฑ์จังหวัด สุโขทัย คือ ความสามารถในการจัดเก็บข้อมูล การสำรวจข้อมูล การจัดประเภทของกิจกรรมในแต่ ละสาขาการผลิต การจัดเก็บข้อมูลที่ไม่ครบถ้วน และวิธีการคำนวณผลิตภัณฑ์จังหวัค (3) การใช้ ประโยขน์จากข้อมูลผลิตภัณฑ์พบว่าการจัดทำผลิตภัณฑ์จังหวัคด้วยวิธีทางตรง เป็นการจัดเก็บ ข้อมูลกิจกรรมทางเศรบฐกิจที่เกิดขึ้นจริงในพื้นที่ สามารถแจกแจงรายละเอียดเจาะลึกถึงปัญหาและ อุปสรรค สถิติผลิตภัณฑ์จังหวัดใช้เป็นเครื่องมือประกอบการตัดสินใจได้อย่างมีประสิทธิภาพth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectผลิตภัณฑ์ -- สุโขทัยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ -- เศรษฐศาสตร์th_TH
dc.titleการวิเคราะห์เปรียบเทียบการจัดทำผลิตภัณฑ์จังหวัดในรูปแบบทางอ้อมและทางตรง : กรณีศึกษาจังหวัดสุโขทัยth_TH
dc.title.alternativeA comparative analysis of the estimation of the gross provincial product by direct vs. indirect way : a case study of Sukhothai Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
122063.pdfเอกสารฉบับเต็ม7 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons