Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/242
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorขจิตพรรณ กฤตพลวิมานth_TH
dc.contributor.authorสุรัตน์ สิงห์ทอง, 2527-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-04T14:26:54Z-
dc.date.available2022-08-04T14:26:54Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/242en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม. (เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาออนโทโลยีสำหรับองค์ความรู้พันธุ์ไม้ย้อมสีธรรมชาติ และ 2) พัฒนาการสืบค้นเชิงความหมายโดยใช้ออนโทโลยีของพันธุ์ไม้ย้อมสีธรรมชาติ ทำให้ผู้ใช้งานมีความรู้เกี่ยวกับพันธุ์ไม้ย้อมสีธรรมชาติ การนำไปใช้ประโยชน์และวิธีการย้อมสีผ้ามากยิงขึ้น งานวิจัยนี้ได้นำเทคนิคออนโทโลยีมาประยุกต์ใช้งานพัฒนาระบบการสืบค้นเชิงความหมาย ระเบียบวิธีวิจัยดำเนินการโดยออกแบบโครงสร้างข้อมูลออนโทโลยีสำหรับพันธุ์ไม้ย้อมสีธรรมชาติ ด้วยซอฟต์แวร์โฮโซออนโทโลยีเอดิเตอร์ จากนั้นนำเอาโครงสร้างข้อมูลออนโทโลยีที่ได้มาเชื่อมโยงหรือทำการแมปปิงกับข้อมูลที่มีอยู่ในฐานข้อมูลมายเอสคิวแอลโดยใช้ซอฟต์แวร์จัดการโปรแกรมประยุกต์ฐานความรู้ออนโทโลยี จากนั้นได้พัฒนาระบบสืบค้นเชิงความหมายเป็นส่วนของการสืบค้นข้อมูลจากผู้ใช้งานในรูปแบบของเว็บแอปพลิเคชันโดยใช้ภาษาพีเอชพี ซึ่งผู้ใช้งานสามารถสืบค้นโดยการใช้วลีหรือคำสำคัญ การวิจัยนี้ได้ทดลองค้นหาข้อมูลจากฐานข้อมูลด้วยการใช้คำสำคัญที่แตกต่างกนเพื่อทดสอบความแม่นยำและความถูกต้อง พบว่าค่ามีระดับค่าเฉลี่ยของความแม่นยำเท่ากับ 0.94 ในขณะที่ระดับค่าเฉลี่ยของความถูกต้องเท่ากับ 1.0 และประสิทธิภาพการสืบค้นข้อมูลโดยรวมของทั้งสองค่ามีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0.96 ซึ่งหมายถึงระบบมีประสิทธิภาพในระดับดีมาก นอกจากนี้ได้ประเมินความพึงพอใจด้านการใช้งานระบบสืบค้นเชิงความหมายจากผู้ใช้งาน 20 คนโดยให้กลุ่มตัวอยางทดลองใช้งานและประเมินผล พบว่าค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.12 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.593 หมายถึงผู้ใช้งานมีความพึงพอใจในระบบที่พัฒนาในระดับดีth_TH
dc.formattexten_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailanden_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectออนโทโลยี (การค้นคืนสารสนเทศ)th_TH
dc.subjectเว็บเชิงความหมายth_TH
dc.subjectระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศth_TH
dc.titleการพัฒนาการสืบค้นเชิงความหมายโดยใช้เทคนิคออนโทโลยีสำหรับพันธุ์ไม้ย้อมสีธรรมชาติth_TH
dc.title.alternativeSemantic search development using Ontology technique for natural dye plantsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to 1) develop an ontology for natural dye plants and 2) develop semantic search using the ontology of natural dye plants. This allowed users to have better understanding of the natural dye plants, their usages, and dyeing methods. In this research, the ontology technique was applied for developing semantic search system. Research methodology was conducted on the ontology data structure for natural dye plants using the Hozo-Ontology Editor software. Later on, the ontology data structure was mapped to the data contained in MySQL database using the ontology application management framework. Then the semantic search system was developed as a part of the user query in the form of a web application using PHP language. As a consequence, users were able to do semantic search by using phrases or keywords. This research performed the experiment by searching data from database using different keywords to test for the accuracy and the precision. The average value of precision was 0.94 and the average value of accuracy was 1.0. Furthermore, the overall efficiency of query performance in both values was 0.96 which meant that the system performance was at a very good level. In addition, the user satisfaction to the semantic search system was evaluated by 20 sample users. The average value of satisfaction was 4.12 and the standard deviation was 0.593 This was concluded that the users were satisfied with the developed system in a good levelen_US
dc.contributor.coadvisorวฤษาย์ ร่มสายหยุดth_TH
Appears in Collections:Science Tech - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_159417.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.73 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons