Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2431
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอัจฉรา ชีวะตระกูลกิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorณัฏฐ์กฤชตา เปี่ยมพุฒิอมร-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.date.accessioned2022-12-15T03:58:01Z-
dc.date.available2022-12-15T03:58:01Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2431-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ปัจจัยส่วนบุคคลของสมาชิกที่ซื้อสินค้าของสหกรณ์ การเกษตรลำลูกกา จำกัด 2) พฤติกรรมการซื้อสินค้าของสมาชิกสหกรณ์การเกษตรลำลูกกา จำกัด 3) ระดับ ความสำคัญของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีต่อพฤติกรรมการซื้อสินค้าของสมาชิกสหกรณ์การเกษตรลำลูกกา จำกัด 4) ความสัมพันธ์ของปัจจัยส่วนบุคคลของสมาชิกกับพฤติกรรมการซื้อสินค้าของสมาชิกสหกรณ์การเกษตรลำ ลูกกา จำกัด 5) ความสัมพันธ์ของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดกับพฤติกรรมการซื้อสินค้าของสมาชิกสหกรณ์ การเกษตรลำลูกกา จำกัด ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ สมาชิกที่ซื้อสินค้าสหกรณ์การเกษตรลำลูกกา จำกัด จังหวัดปทุมธานี จำนวน 1,220 คน (ณ สิ้นปี บัญชี 31 มีนาคม 2557) โดยศึกษาจากกลุ่มตัวอย่าง 301 คน ซึ่งกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง โดยสูตรของทาโรยามาเน่ย์ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติอ้างอิง ได้แก่ การวิเคราะห์หา ความสัมพันธ์แบบไคสแควร์ ผลการศึกษาพบว่า 1) ผู้ตอบแบบ สอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุมากกว่า 50 ปี ขึ้น มีสถานภาพ สมรส มีการศึกษาต่ำกว่ามัธยมศึกษา มีระยะเวลาการเป็นสมาชิกมากกว่า 10 ปี ขึ้นไป มีรายได้ของครอบครัวต่อเดือน อยู่ระหว่าง 10,000 – 20,000 บาท และส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม 2) พฤติกรรมการซื้อสินค้าของสมาชิก สหกรณ์ส่วนใหญ่ซื้อสินค้าประเภทเกี่ยวกับการเกษตร วัสดุ ปุ๋ย ยา ซื้อสินค้าสหกรณ์ต่อเดือนน้อยกว่า 5 ครั้ง ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อครั้งในการซื้อสินค้าอยู่ระหว่าง 1,000–5,000 บาท เวลาที่สะดวกมากที่สุดต่อการซื้อสินค้าจาก สหกรณ์คือช่วงเวลา 13.00–16.00 น. เหตุผลที่สำคัญที่สุดในการเลือกซื้อสินค้าที่สหกรณ์คือ ได้รับเงินเฉลี่ยคืน ผู้มี ส่วนสำคัญในการตัดสินใจซื้อสินค้าจากสหกรณ์มากที่สุดคือ ตัดสินใจด้วยตัวเอง 3) ระดับความสำคัญของปัจจัยส่วน ประสมทางการตลาดที่มีต่อพฤติกรรมการซื้อสินค้าของสมาชิกสหกรณ์โดยรวมอยู่ในระดับมาก ซึ่งเรียงลำดับ ความสำคัญจากปัจจัยทั้ง 4 ด้าน ดังนี้ ด้านผลิตภัณฑ์ คือ สินค้าที่นำมาจำหน่ายมีคุณภาพดี ด้านราคา คือ ราคา มาตรฐาน เหมาะสมกับคุณภาพของสินค้า ด้านช่องทางการจัดจำหน่ายคือ มีที่จอดรถขึ้น-ลงสะดวกในการบรรทุก สินค้า และด้านส่งเสริมการตลาด คือ มีส่วนลดพิเศษหรือของขวัญของชำร่วยช่วงเทศกาลหรือโอกาสพิเศษต่างๆ ของ สหกรณ์ 4) ความสัมพันธ์ของปัจจัยส่วนบุคคลของสมาชิกกับพฤติกรรมการซื้อสินค้า พบว่า รายได้มีความสัมพันธ์ กับพฤติกรรมการซื้อสินค้า ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 5) ความสัมพันธ์ของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดกับ พฤติกรรมการซื้อสินค้าของสมาชิก พบว่า ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย และด้านการ ส่งเสริมการตลาดมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการซื้อสินค้าของสมาชิก ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสหกรณ์การเกษตรลำลูกกา--สมาชิกth_TH
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภคth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สหกรณ์th_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการซื้อสินค้าของสมาชิกสหกรณ์การเกษตรลำลูกกา จำกัด จังหวัดปทุมธานีth_TH
dc.title.alternativeFactors that affect the buying behavior of members of Lumlukka Agricultural Cooperative Ltd., Pathum Thani Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สหกรณ์)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study 1) the personal factors of members of Lumlukka Agricultural Cooperative Ltd who bought things at the cooperative; 2) their buying behavior; 3) the level of importance of marketing mix factors that affected their buying behavior; 4) the relationship between the cooperative members’ personal factors and their buying behavior; and 5) the relationship between marketing mix factors and their buying behavior. The study population was the 1,220 members of Lumlukka Agricultural Cooperative registered as of 31 March 2014. A sample population of 301 was randomly selected for the research. The sample size was determined using the Taro Yamane method. Data were collected using a questionnaire and analyzed using the descriptive statistics of frequency, percentage, mean, and standard deviation and the inferential statistics of chi square. The results showed that 1) the majority of samples were male, age over 50, married, educated to less than secondary school level and had been cooperative members for more than 10 years. Most were farmers and had household income in the range of 10,000-20,000 baht a month. 2) The majority bought agricultural supplies from the cooperative, such as materials, fertilizer and pesticide. They purchased things from the cooperative fewer than 5 times a month and usually spent in the range of 1,000 to 5,000 baht per time. The most convenient time for them to buy things from the cooperative was 13:00-16:00. They stated that the main reason they bought things at the cooperative was because they could get their money back on average. Most of the people surveyed said they themselves were the ones to make the decision to buy things at the cooperative. 3) Overall, all the marketing mix factors had a high level of importance in influencing the members’ buying behavior. In order of importance, the factors were product (good quality), price (standard and reasonable price for the quality), place (easy parking for transporting goods), and promotion (special reductions or free gifts on holidays or special occasions). 4) The variable of who made the decision to purchase things at the cooperative was found to be related to all the personal factors of members to a statistically significant degree (p<0.05). 5) The variable of who made the decision to purchase things at the cooperative was found to be related to the marketing mix factors of product, price, place and promotion to a statistically significant degree (p<0.05). The variable of how many times a month the members made purchases at the cooperative was not related to any of the marketing mix factorsen_US
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
146045.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.17 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons