Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2437
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธัญญรัศม์ วศวรรณวัฒน์ | th_TH |
dc.contributor.author | ณัฐสิมา ศักดิ์สวัสดิ์ | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-12-16T02:39:17Z | - |
dc.date.available | 2022-12-16T02:39:17Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2437 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพทั่วไปของสหกรณ์การเกษตร 2) ประเมิน คุณภาพการควบคุมภายในของสหกรณ์การเกษตร และ 3) เปรียบเทียบคุณภาพการควบคุมภายในกับผล การดำเนินงานของสหกรณ์การเกษตร ประชากรที่ศึกษา คือ สหกรณ์การเกษตรในจังหวัดยะลา เฉพาะที่มีฐานะการดำเนินงาน ระดับอำเภอในปี 2556 จำนวน 5 สหกรณ์ เก็บข้อมูลจากประชากรทั้งหมด เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือ แบบประเมินการบริหารจัดการสหกรณ์ (การควบคุมภายในที่ดี) ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ โดยประเมิน ทั้งหมด 14 ด้าน 114 รายการ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ประธานคณะกรรมการดำเนินการหรือ ผู้จัดการสหกรณ์แต่ละแห่ง และแบบเก็บข้อมูลทางการเงิน สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัดส่วน ผลการศึกษาพบว่า 1) สหกรณ์การเกษตรส่วนใหญ่ดำเนินธุรกิจสินเชื่อ ธุรกิจการซื้อ และ ธุรกิจรับฝากเงิน สหกรณ์ที่มีปัญหาขาดทุน คือ สหกรณ์การเกษตรยะหา จำกัด ส่วนสหกรณ์การเกษตร บันนังสตา จำกัด ไม่สามารถปิดบัญชีได้ต่อเนื่องกันมาตั้งแต่ปี 2550 2) โดยภาพรวมสหกรณ์ส่วนใหญ่ มี การควบคุมภายในทุกด้านแต่ไม่ครบทุกรายการ ด้านที่มีสัดส่วนของการปฏิบัติน้อยที่สุด คือ ด้านการ จัดทำงบดุล สหกรณ์ที่มีคุณภาพการควบคุมภายในระดับดีมาก ได้แก่ สหกรณ์การเกษตรเมืองยะลา จำกัด ระดับดี ได้แก่ สหกรณ์การเกษตรยะหา จำกัด สหกรณ์การเกษตรธารโต จำกัด และสหกรณ์การเกษตร บันนังสตา จำกัด ระดับพอใช้ ได้แก่ สหกรณ์การเกษตรกรงปินัง จำกัด ซึ่งต้องเร่งดำเนินการปิดบัญชี ภายใน 30 วัน นับแต่วันสิ้นปี ทางบัญชีและ 3) สหกรณ์ที่มีคุณภาพการควบคุมภายในระดับดีไม่ได้บ่งชี้ว่า สหกรณ์จะมีผลการดำเนินงานที่ดีทุกสหกรณ์ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | สหกรณ์การเกษตรในจังหวัดยะลา--การประเมิน | th_TH |
dc.subject | การควบคุมภายใน | th_TH |
dc.title | การประเมินคุณภาพการควบคุมภายในของสหกรณ์การเกษตรในจังหวัดยะลา | th_TH |
dc.title.alternative | Internal control quality assessment of Agricultural Cooperatives in Yala Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สหกรณ์) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were to: 1) study the general conditions of agricultural cooperatives, 2) evaluate the internal control quality of the cooperatives, and 3) compare internal control quality of the cooperatives with their financial performance. The population consisted of five agricultural cooperatives in Yala Province that had district-level operations in the year 2013. The research instrument was cooperative management evaluation form (good internal control sheet) of the Cooperatives Promotion Department with 114 items in 14 categories. Data were collected through interviews with the director or manager of each cooperative as well as data from a financial aspect. Data were statistically analyzed by using frequency, mean, standard deviation and proportion. The results showed that: 1) most of the agricultural cooperatives were engaged in the credit business, the purchasing business, and the savings deposit business. The cooperatives that had a financial loss problem was Yaha Agricultural Cooperative Limited; and Bannang Sata Agricultural Cooperative was not able to close its account books since 2007. 2) Most of the cooperatives had every category of internal control mechanism, but not every item. The category of internal control that they had the “lowest” proportion compliance scores was balance sheet preparation. The cooperative with a “very good” level of internal control quality was Mueang Yala Agricultural Cooperative Limited. The cooperatives with a “good” level of internal control quality were Yaha Agricultural Cooperative Limited, Than To Agricultural Cooperative Limited, and Bannang Sata Agricultural Cooperative Limited. The cooperative with a “moderate” level of internal control quality was Krong Pinang Agricultural Cooperative Limited, which needed to close its entries within 30 days of the end of the accounting period. Hence, 3) according to a “good” level of internal control quality was not a reliable indicator of good financial performance. | en_US |
Appears in Collections: | Agri-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
142621.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 14.52 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License