Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2462
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพงศ์พันธุ์ เธียรหิรัญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorบำเพ็ญ เขียวหวาน , อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกัลยาณี ประเสริฐขรวงศ์, 2531--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-12-21T04:12:04Z-
dc.date.available2022-12-21T04:12:04Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2462-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (การจัดการการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2557th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ข้อมูลด้านสังคมและเศรษฐกิจของเกษตรกร 2) การนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการจัดการทรัพยากรเกษตร 3) ผลของการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการจัดการทรัพยากรเกษตร 4) ทัศนคติ ความรู้และความพึงพอใจจากการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการจัดการทรัพยากรเกษตร และ 5) ปัญหา ความต้องการและข้อเสนอแนะในการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการจัดการทรัพยากรเกษตร วิธีการศึกษา เป็นการวิจัยแบบผสมเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ โดยการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากร คือ เกษตรกรนาร่องที่ผ่านการอบรมจากโครงการศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้าน ภายใต้โครงการพัฒนาการเกษตรตามแนวทฤษฎีใหม่ โดยยึดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จานวน 450 คน กลุ่มตัวอย่างได้จากการคานวณของสูตรTaro Yamane จากการสุ่มตัวอย่างอย่างง่ายของประชากรทั้งหมดได้จานวน 216 ราย ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าต่าสุด ค่าสูงสุด และค่าเฉลี่ยการวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บข้อมูลแบบเฉพาะเจาะจง จานวน 9 คน ใช้แบบสัมภาษณ์และการอภิปรายกลุ่มในการเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลโดยการตีความและทาตารางเปรียบเทียบ ผลการวิจัยพบว่า 1) เกษตรกรส่วนมากเป็นเพศหญิง ร้อยละ 57.87 อายุเฉลี่ย 48 ปี กิจกรรมทางการเกษตรมากกว่าครึ่งหนึ่งทาในบริเวณรอบที่พักอาศัยของตนเอง โดยให้ความสาคัญในเรื่องของกิจกรรมปลูกพืชปลอดสารพิษ ทั้งพืชผักสวนครัว ข้าว และพืชไร่ สาหรับบริโภคในครัวเรือนเป็นหลัก 2) การนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการจัดการทรัพยากรเกษตร พบว่า เกษตรกรร้อยละ 87.50 วางแผนทาการเกษตรโดยคานึงถึงปริมาณน้า และร้อยละ 88.89 มีการปรับปรุงดินก่อนทาการเกษตร 3) จากการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการจัดการทรัพยากรเกษตร พบว่า เกษตรกรสามารถพึ่งตนเองได้ มีจิตสานึกที่ดีในการใช้ทรัพยากรเกษตร ใช้ปัจจัยการผลิตที่มีอยู่ในท้องถิ่นและสามารถใช้ทรัพยากรเกษตรให้เกิดประโยชน์อย่างยั่งยืน 4) เกษตรกรมีทัศนคติว่าปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คือหลักในการดาเนินชีวิต และยังเป็นหลักในการจัดการทรัพยากรเกษตรเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติ เกษตรกรส่วนใหญ่มีความรู้เกี่ยวกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นอย่างดี และมีความพึงพอใจเป็นอย่างยิ่งในการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการจัดการทรัพยากรเกษตร และ 5) เกษตรกรส่วนน้อยมีปัญหาเกี่ยวกับความเข้าใจคลาดเคลื่อนว่าปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงคือการทาเกษตรทฤษฎีใหม่เท่านั้น โดยเกษตรกรส่วนมากต้องการให้จัดฝึกอบรมอีกครั้งเพื่อกระตุ้นและทบทวนความจา และมีข้อเสนอแนะให้หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องทางานแบบบูรณาการร่วมกันเป็นภาคีเครือข่าย เพื่อให้ทุกภาคส่วนในจังหวัดลาปางเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรเกษตรth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2014.318-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการจัดการการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectเศรษฐกิจพอเพียง--ไทย--ลำปางth_TH
dc.titleการจัดการทรัพยากรเกษตรตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของเกษตรกรจังหวัดลำปางth_TH
dc.title.alternativeAgricultural resources management following the philosophy of sufficiency economy by farmers in Lampang Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2014.318-
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study 1) socio-economic data about the sample farmers; 2) their application of the Sufficiency Economy Philosophy in the management of agricultural resources; 3) the results of applying the Sufficiency Economy Philosophy in the management of agricultural resources; 4) their attitudes, knowledge and satisfaction with using the Sufficiency Economy Philosophy in the management of agricultural resources; and 5) their problems, needs and suggestions about this topic. This was a combined quantitative and qualitative research. For the quantitative portion, the study population consisted of 450 farmers who attended a workshop organized by a network of local savants about New Theory agricultural development following the Sufficiency Economy Philosophy. The sample population size was calculated by the Yamane Formula and 216 of the farmers were chosen using simple random sampling. A questionnaire was the data collection tool. Data were analyzed to obtain frequency, percentage, standard deviation, minimum, maximum and arithmetic mean. For the qualitative portion of the research, data were collected from 9 people, chosen through purposive sampling, using an interview form and focus group discussion. The data were analyzed using the methods of interpretation and making comparative tables. The results showed that 1) most of the farmers (57.87%) were female, average age 48. More than half of their agricultural activities took place in the area around to their homes. They paid most attention to growing pesticide-free crops, such as vegetables, rice and field crops for household consumption. 2) For application of the Sufficiency Economy Philosophy in agricultural resources management, 87.50% of the sample farmers took account of water use in their agricultural planning, and 88.89% improved the soil before planting. 3) As a result of applying the Sufficiency Economy Philosophy in agricultural resources management, the farmers achieved self sufficiency, were conscientious in their use of agricultural resources, utilized locally sourced factors of production, and were able to use agricultural resources in a sustainable way. 4) The farmers’ attitudes were that the Sufficiency Economy Philosophy was a way of life and a way of managing agricultural resources to meet with changes, especially changes in the natural environment. Overall, the farmers had a high level of knowledge about the Sufficiency Economy Philosophy and were extremely satisfied with the results of applying it on their farms. 5) A few farmers had the wrong understanding that using Sufficiency Economy Philosophy meant using New Theory Agriculture only. They wanted to attend another similar workshop again to refresh their knowledge and get inspiration. They suggested that all the different agencies should work together in an integrated network so that all the allies in Lampang could participate in managing the agricultural resources together.en_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
144785.pdfเอกสารฉบับเต็ม31.89 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons