Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2468
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุนีย์ ศิลพิพัฒน์th_TH
dc.contributor.authorปิติพงศ์ แสงวงศ์, 2523-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2022-12-21T06:35:08Z-
dc.date.available2022-12-21T06:35:08Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2468en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงศ์เพื่อ 1) ศึกษาโครงสร้างการบริหารเงินสำรองระหว่าง ประเทศ ในช่วงที่ประเทศไทยเริ่มฟื้นตัวจากวิกฤตการณ์,ทางเศรษฐกิจปี 2540 หลังจากมีการใช้นโยบายอัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัวภายใต้การจัดการ 2) ศึกษาถึงปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อปริมาณเงินทุนสำรองระหว่างประเทศภายใต้ระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัววิธีการศึกษาใช้วิธีการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุ เพื่ออธิบายถึงปัจจัยที่ส่งผลต่อเงินทุนสำรองระหว่างประเทศของไทย โดยใช้ข้อมูลในการวิเคราะห์รายไตรมาส (ไตรมาส 1 พ.ศ.2542 - ไตรมาส 4 พ.ศ. 2552) โดยใช้ข้อมูล รายงานบัญชีทุนสำรองระหว่างประเทศ อัตราแลกเปลี่ยน มูลค่าการนำเข้า อัตราการเปลี่ยน เปลี่ยนภาระหนี้ต่างประเทศระยะสั้น ดุลชำระเงินผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ และปริมาณเงินภายในประเทศผลการศึกษาสรุปได้ดังนี้ 1) เงินทุนสำรองระหว่างประเทศ ประกอบด้วย เงินตราต่างประเทศ ทองคำ สิทธิพิเศษถอนเงิน สินทรัพย์ส่งสมทบกองทุนการเงินระหว่างประเทศ โดยภายใต้การใช้นโยบายอัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัวมีสัดส่วนของเงินทุนสำรองระหว่างประเทศดังนี้โดย เงินตราต่างประเทศมีสัดส่วนสูงที่สุด ทองคำ สิทธิพิเศษถอนเงิน และสินทร้พย์ส่งสมทบกองทุนการเงินระหว่างประเทศ ตามลำดับ 2) ปัจจัยที่ศึกษาทุกปัจจัยได้แก่ อัตราแลกเปลี่ยน มูลค่า การนำเข้า อัตราการเปลี่ยน เปลี่ยนภาระหนี้ต่างประเทศระยะสั้น ดุลชำระเงิน ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ และปริมาณเงินภายในประเทศใน 1 ไตรมาสที่ผ่านมา ส่งผลต่อเงินทุนสำรองระหว่างประเทศอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติและสอดคล้องกับสมมุติฐาน โดยส่งผลให้เงินสำรองระหว่างประเทศเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางเดียวกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเศรษฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectทุนสำรองระหว่างประเทศth_TH
dc.subjectอัตราแลกเปลี่ยน--ไทยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เศรษฐศาสตร์th_TH
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อปริมาณทุนสำรองระหว่างประเทศของไทยภายใต้ระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัวth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting to Thai international reserved under floating exchange rate systemen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
127346.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.63 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons