Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2473
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชัยวัฒน์ คงสม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสัจจา บรรจงศิริ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเชิดชาย โตจันทึก, 2518--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-12-21T07:23:09Z-
dc.date.available2022-12-21T07:23:09Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2473-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (การจัดการการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2557th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ข้อมูลพื้นฐานทั่วไปของสมาชิกกลุ่มผลิตปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพตาบลวังโรงใหญ่ อาเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา (2) สภาพการดาเนินงานของกลุ่มผลิตปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ ตาบลวังโรงใหญ่ (3) ปัญหาอุปสรรคของกลุ่มผลิตปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพตาบลวังโรงใหญ่ (4) แนวทางการพัฒนากลุ่มผลิตปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพตาบลวังโรงใหญ่ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ การเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณใช้ข้อมูลจากฐานข้อมูลทะเบียนสมาชิกกลุ่มทั้งหมด จานวน 270 คน สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ และค่าเฉลี่ย ส่วนการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การสัมภาษณ์และประชุมกลุ่มย่อยจากกลุ่มผู้ให้ข้อมูลโดยเลือกแบบเจาะจง และรวบรวมจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง การสัมภาษณ์เป็นการสัมภาษณ์ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการดาเนินงานกลุ่มผลิตปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพฯ จานวน 5 คน ส่วนการประชุมกลุ่มย่อยเป็นการประชุมกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจากกลุ่มผลิตปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพฯรวม 15 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า สมาชิกเป็นเพศชายมากกว่าเพศหญิงเล็กน้อย อายุเฉลี่ย 49 ปี การศึกษาต่ากว่าระดับประถมศึกษาปีที่ 4 และประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก มีพื้นที่เกษตรกรรมของตนเฉลี่ย 33ไร่ และมีพื้นที่เช่าคิดเป็นหนึ่งในสามของพื้นที่ของตนเอง รายได้ครัวเรือนต่อปีเฉลี่ย 186,640 บาท และมีจานวนหุ้นเฉลี่ยต่อคน 817 บาท กลุ่มผลิตปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพตาบลวังโรงใหญ่เป็นการรวมกลุ่มของเกษตรกร มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตปุ๋ยอินทรีย์ใช้ภายในกลุ่มของตนเองและหากาไร บริหารโดยคณะกรรมการและมีการแบ่งงานกันทาเป็นฝ่ายต่างๆ ผลิตปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ดเป็นหลัก ใช้วัตถุดิบและแรงงานของสมาชิกในชุมชนเป็นส่วนใหญ่ จาหน่ายผลผลิตให้แก่สมาชิกและเกษตรกรในพื้นที่เป็นหลัก เงินทุนได้รับการสนับสนุนจากองค์การบริหารส่วนตาบลวังโรงใหญ่และจากการลงหุ้นของสมาชิก การปันผลไม่เกินร้อยละ40 ของผลกาไรต่อปี ปัญหาของกลุ่มหลักๆ ประกอบด้วย คณะกรรมการกลุ่มขาดการมีส่วนร่วม ไม่มีตราสินค้า ไม่มีห้องทางานสาหรับคณะกรรมการ ไม่มีข้อบังคับกลุ่ม และขาดการตรวจสอบคุณภาพปุ๋ยอินทรีย์ แนวทางการพัฒนากลุ่มประกอบด้วยกลยุทธ์ 3 ด้าน คือ1) ด้านการบริหารงาน ได้แก่ การก่อสร้างขยายโรงงานผลิตปุ๋ยอินทรีย์และการระดมทุนจากการขายหุ้นแก่สมาชิกกลุ่ม 2) ด้านการผลิต ได้แก่ การเก็บรวบรวมวัตถุดิบให้เพียงพอต่อการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ และการจ้างแรงงานให้เพียงพอต่อการผลิต 3) ด้านการตลาด ได้แก่ การเพิ่มราคาจาหน่ายปุ๋ยอินทรีย์และการสร้างตราสินค้าของกลุ่มth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2014.35-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการจัดการการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectปุ๋ยชีวภาพ--การผลิตth_TH
dc.subjectปุ๋ยอินทรีย์--การผลิตth_TH
dc.titleแนวทางการพัฒนากลุ่มผลิตปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพตำบลวังโรงใหญ่ อำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมาth_TH
dc.title.alternativeDevelopment approach of bio-organic fertilizer production group in Wang Rong Yai Sub-district, Sikhio District, Nakorn Ratchasima Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2014.35-
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aims to study: (1) basic information on the members of the bio-organic fertilizer production group in Wang RongYai Sub-district, Sikhio District, Nakorn Ratchasima Province (2) the condition of management of the bio-organic fertilizer production group (3) problems and obstacles of the bio-organic fertilizer production group (4) development approach for management of bio-organic fertilizer production group. The study employed both qualitative and quantitative research methods. The quantitative data collection used the data from the database of registered group member in a total of 270 people. The statistics for analyzing the data were frequency, percentage, and mean. The interview and focus group method were used for collecting qualitative data from the data provider group that used purposive sampling and collection of related documents. The interview was conducted with those people involved in the management of bio-organic fertilizer production group in a total of five people. The focus group was a meeting of stakeholders from the bio-organic fertilizer production group in a total of 15 people. Content analysis was used for data analysis. The study results showed that the members of the group were males more than females, average age 49 years, educated lower than fourth year of elementary level, mainly farmers, owned agricultural areas averagely 33 rai and one-third of areas rented, with average annual household income 186,640 baht and average amount of share 817 baht per person. The bio-organic fertilizer production group was the association of farmers which aims to produce bio-organic fertilizer to use within their own group and make profit under the administration of committees and difference divisions. The main product was bio-organic fertilizer pellet. Raw materials and labors were mainly from group members. The bio-organic fertilizer products were mainly sale to members group and local farmers. The Budget was fund by Wang Rong Yai Sub-district Administrative Organization and from the share of the members. The dividend was not exceeding 40 percent of the annual profit. The main problems of groups consist of lack of committee’s participation, non-branded for the products, no office for committees, no regulations of the group, and lack of inspection of the quality of bio-organic fertilizer. The development approach for management of the group consists of three strategies as follows: 1) management: Expand the fertilizer plant and raise fund from the sale of shares to the group members 2) Production: Gather enough raw materials for bio-organic fertilizer production and hire more workers to meet production capability 3) Marketing: Increase the prices of organic fertilizers and establish the brand for bio-organic fertilizer productsen_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
145892.pdfเอกสารฉบับเต็ม18.88 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons