Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2474
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอนุชา ภูริพันธุ์ภิญโญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorเชาว์ โรจนแสง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorปานรดา อิงชัยภูมิ, 2522--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-12-21T07:47:42Z-
dc.date.available2022-12-21T07:47:42Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2474-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (สหกรณ์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2557th_TH
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพทั่วไปของการปลูกข้าวหอมมะลิและการปลูกข้าวหอมมะลิตามมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีของสมาชิกสหกรณ์การเกษตรบรบือ จากัด จังหวัดมหาสารคาม 2) วิเคราะห์เปรียบเทียบต้นทุนและผลตอบแทนจากการผลิตข้าวหอมมะลิและการผลิตข้าวหอมมะลิตามมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี ของสมาชิกสหกรณ์การเกษตรบรบือ จากัด 3) วิเคราะห์เปรียบเทียบประสิทธิภาพในการผลิตข้าวหอมมะลิและการผลิตข้าวหอมมะลิตามมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี ของสมาชิกสหกรณ์ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ สมาชิกสหกรณ์การเกษตรบรบือ จากัด ที่ปลูกข้าวหอมมะลิตามมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี จานวน 1,237 คน และปลูกข้าวข้าวหอมมะลิแบบทั่วไป จานวน 1,478 คน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ สมาชิกสหกรณ์การเกษตรบรบือ จากัด ที่ปลูกข้าวหอมมะลิตามมาตรฐานวิธีปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี จานวน 40 คน และปลูกข้าวหอมมะลิแบบทั่วไป จานวน 40 คน โดยการสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) สถิติที่ใช้ได้แก่สัดส่วนร้อยละ ค่าเฉลี่ยของข้อมูล การกระจายข้อมูล และวิเคราะห์ประสิทธิภาพการผลิต โดยประมาณการฟังก์ชั่นการผลิตแบบ Cobb-Douglas Function แล้วใช้วิธีการวัดประสิทธิภาพการผลิตโดยอาศัยแบบจาลอง Stochastic Frontier Production ผลการศึกษาพบว่า 1) สมาชิกสหกรณ์ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง และมีอายุมากกว่า 61 ปี สมาชิกกลุ่มตัวอย่างทั้งสองกลุ่มส่วนใหญ่ จบการศึกษาประถมศึกษาปีที่ 4 ส่วนใหญ่สมาชิกสหกรณ์จะเป็นเจ้าของที่ดิน 2) ต้นทุนและผลตอบแทน จานวน 2,133.00 บาท/ไร่ ผลตอบแทน 3,038.60 บาท/ไร่ ผลตอบแทนสุทธิ 905.60 บาท/ไร่ ผลผลิตที่สมาชิกสหกรณ์สามารถผลิตได้ 201 - 300 กิโลกรัม/ไร่ และการปลูกข้าวหอมมะลิตามมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี จานวน 3,359.29 บาท/ไร่ ผลตอบแทน 6,140.95 บาท/ไร่ ผลตอบแทนสุทธิ 2,781.67 บาท/ไร่ อยู่ระหว่าง 401-500 กิโลกรัม/ไร่ และ 3)ประสิทธิภาพในการผลิตข้าวหอมมะลิโดยเฉลี่ยในแต่ละรายจะมีระดับอยู่ที่ 1.0080 และประสิทธิภาพการผลิตข้าวหอมมะลิตามมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีโดยเฉลี่ย ในแต่ละรายอยู่ที่ 1.0016 ซึ่งแสดงได้ว่าสมาชิกสหกรณ์ทั้งสองกลุ่มมีประสิทธิภาพการผลิตปานกลาง ค่าสัมประสิทธิ์ของปัจจัยการผลิตทุกตัวของการผลิตข้าวหอมมะลิมีค่าเท่ากับ 1.0798 และการผลิตข้าวหอมมะลิตามมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี มีค่าเท่ากับ 1.1647 ชี้ให้เห็นว่าผลตอบแทนต่อขนาดการผลิตเพิ่มขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2014.33-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectข้าวหอมมะลิ--การผลิตth_TH
dc.subjectข้าวหอมมะลิ--การปลูก--มาตรฐานการผลิตth_TH
dc.titleประสิทธิภาพการผลิตข้าวหอมมะลิตามมาตรฐานการปฏิบัติทางการเษตรที่ดีของสมาชิกสหกรณ์การเกษตรบรบือ จำกัด จังหวัดมหาสารคามth_TH
dc.title.alternativeThe efficiency of Thai Hom Mali rice production following Good Agricultural Practice by Borabue Agricultural Co-operatives Ltd., members Maha Sarakham Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2014.33-
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were 1) to study the general conditions of conventional Thai Hom Mali rice production and of Thai Hom Mali rice production following Good Agricultural Practice (GAP) standards by members of Borabue Agricultural Co-operatives Ltd., in Maha Sarakham Province; 2) to analyze and compare the Co-op members’ costs and returns of producing Thai Hom Mali rice under normal practices and following GAP standards; and 3) to analyze and compare the efficiency of production Thai Hom Mali rice under normal practices and following GAP standards. The study population consisted of 1,237 members of Borabue Agricultural Co-operatives Ltd., who produced Thai Hom Mali rice following GAP standards and 1,478 members of Borabue Agricultural Co-operatives Ltd., who produced Thai Hom Mali rice following normal practices. The purposive sampling method was used to select a sample population of 40 co-op members, 40 of whom produced rice following GAP standards and 40 who used conventional methods. The data were analyzed applying percentage, mean, frequency, Cobb-Douglas Production Function and Stochastic Frontier Production model to analyze the efficiency of rice production. The results showed that 1) Most of the rice farmers were female, aged over 61. Most of the farmers who grew rice following GAP standards were in the 51-60 age group. The majority, from both the GAP and non-GAP groups, had an average educational level of the fourth grade. Most co-op members owned their own land. 2) The average costs of co-op members who used conventional rice growing methods were 2,133.00 baht/1,600 m2 and the average returns were 3,038.60 baht/1,600 m2, or net returns of 905.60 baht/1,600 m2. Most (82.50%) produced yield of 201 - 300 kg/1,600 m2. The average costs of Co-op members who followed GAP standards were 3,359.29 baht/1,600 m2 and their average returns were 6,140.95 baht/1,600 m2, or net returns of 2,781.67 baht/1,600 m2. 95 percent of the farmers in GAP group produced yield of 401-500 kg/1,600 m2. 3) The average efficiency rate of rice production of the sample farmers using conventional practices was 1.0080 and the average efficiency rate of the sample farmers producing rice following GAP standards was 1.0016, which indicated by both groups had moderate efficient production. The coefficient of all factors of production for the conventional practice group was 1.0798 and for the GAP group was 1.1647, which indicated by their returns to scale of production were increasingen_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
145894.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.45 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons