Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2477
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมนูญ โต๊ะยามา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorปาริชาติ วงศ์สุข, 2516--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2022-12-21T08:10:22Z-
dc.date.available2022-12-21T08:10:22Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2477-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์เปรียบเทียบ (1) พฤติกรรมและลักษณะการ ปล่อยสินเชื่อของธนาคารพาณิชย์ไทยระหว่างปี 2536-2541 และปี 2542-2548 (2) ความสัมพ้นธ์ ระหว่างสินเชื่อรายภาคเศรษฐกิจของธนาคารพาณิชย์ไทยต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศจำแนก ตามสาขาการผลิตระหว่างปี 2536-2451 และปี 2542-2548 การศึกษานี้ใช้ข้อมูลทุติยภูมิที่รวบรวมจากธนาคารแห่งประเทศไทย และสำนักงาน คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ในการวิเคราะห์เชิงพรรณนาและเชิงปริมาณ การวิเคราะห์ใช้การวัดค่าการกระจุกตัวของการปล่อยสินเชื่อตามรายภาคเศรษฐกิจในรูปแบบของ อัตราส่วนการกระจุกตัว (CRn) ซึ่งใช้วัดการกระจุกตัวบางส่วน และดัชนี Herfindahl Hirschman ที่ วัดค่าการกระจุกตัวโดยรวม ผลการศึกษาพบว่า (1) การปล่อยสินเชื่อของธนาคารพาณิชย์ไทยที่พิจารณาจากสินเชื่อ รายภาคเศรษฐกิจในช่วงปี 2542-2548 ส่วนใหญ่กระจุกตัวอยู่ใน 5 ภาคเศรษฐกิจ ได้แก่ ภาคการ ผลิต ภาคการค้า ภาคการอุปโภคบริโภคส่วนบุคคล ภาคตัวกลางทางการเงิน และภาคการบริการ โดยมีค่าการกระจุกตัว (CR5) เท่ากับ 0.80 เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2536-2541 ค่าการกระจุกตัวของ 4 ภาคเศรษฐกิจ (CR4) มีค่าเท่ากับ 0.66 ที่ประกอบด้วยภาคอุตสาหกรรม ภาคการค้าปลีกและค้าส่ง ภาคอุปโภคบริโภคส่วนบุคคล และภาคอสังหาริมทรัพย์ นอกจากนี้พบว่าการกระจุกตัวของสินเชื่อ ปี 2542-2548 มีแนวโน้มสูงขึ้นจากช่วง ปี 2536-2541 (2) สินเชื่อรายภาคเศรษฐกิจต่อผลิตภัณฑ์ มวลรวมในประเทศ ณ ราคาคงที่ ปี2531 ในช่วงปี 2542-2548 ที่มีสัดส่วนมากที่สุด 5 อันดับแรก ได้แก่ ภาคตัวกลางทางการเงิน ภาคอลังหาริมทรัพย์ ภาคการก่อสร้าง ภาคการค้า ภาคบริการ โรงแรมและภัตตาคาร เทียบกับในช่วงปี 2536-2541 ที่ประกอบด้วย 5 อันดับแรกได้แก่ ภาค เศรษฐกิจที่ได้รับการปล่อยสินเชื่อต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ณ ราคาคงที่ปี 2531 ได้แก่ ภาคการธนาคารประกันภัยและอลังหาริมทรัพย์ ภาคการค้าส่งและค้าปลีก ภาคการก่อสร้าง ภาคอุตสาหกรรม และภาคการบริการ ซึ่งผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบภาคเศรษฐกิจที่ได้รับจัดสรร สินเชื่อต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ณ ราคาคงที่ ปี 2531 สูงสุด 5 อันดับ ย้งเปีนภาคเศรษฐกิจ ที่อยู่ในกลุ่มเดิมth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสินเชื่อth_TH
dc.subjectเงินกู้ธนาคารth_TH
dc.subjectการกู้ยืมธนาคารth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ -- เศรษฐศาสตร์th_TH
dc.titleการวิเคราะห์เปรียบเทียบพฤติกรรมการปล่อยสินเชื่อของธนาคารพาณิชย์ไทย ระหว่างปี พ.ศ. 2536-2541 และ ปี พ.ศ. 2542-2548th_TH
dc.title.alternativeA comparative analysis of credit lending behavior of Thai Commercial Banks during 1993-1998 and 1999-2005th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
112599.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.11 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons