Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2484
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรัชฎาพร เลิศโภคานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพนมไพร ชัยยะ, 2509--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2022-12-22T02:22:45Z-
dc.date.available2022-12-22T02:22:45Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2484-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) พฤติกรรมการใช้บัตรเครดิตของผู้ถือบัตรเครดิตสถาบันการเงินในจังหวัดสกลนคร 2) พฤติกรรมการชำระหนี้บัตรเครดิตของผู้ถือบัตรเครดิตสถาบันการเงินในจังหวัดสกลนคร และ 3) ความสัมพันธ์ด้านปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อพฤติกรรมการใช้บัตรเครดิตและการชำระหนี้บัตรเครดิตของผู้ถือบัตรเครดิตสถาบันการเงินในจังหวัดสกลนคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ผู้ถือบัตรเครดิตในจังหวัดสกลนคร จำนวน 250 คน โดยการสุ่มตัวอย่างตามความสะดวก ในช่วงเดือน มกราคม–เมษายน 2553 และใช้แบบสอบถามในการรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ และไคสแควร์ ผลการศึกษาพบว่า 1) ผู้ถือบัตรเครดิตสถาบันการเงินในจังหวัดสกลนคร มีการใช้จ่ายผ่านบัตร 10-20 ครั้งต่อเดือน มูลค่าใช้จ่ายต่อครั้ง จำนวนเงิน 501-1,000 บาท และมีแนวโน้มใช้จ่ายมากขึ้นเมื่อมีบัตรเครดิต โดยส่วนใหญ่จ่ายเป็นค่าอาหารและเครื่องดื่ม คิดเป็นร้อยละ 36 ของค่าใช้จ่ายบัตรทั้งหมด 2) พฤติกรรมการชำระหนี้บัตรเครดิต ส่วนใหญ่ชำระตามยอดขั้นต่ำต่อครั้งตามที่ธนาคารเจ้าของบัตรกำหนดและมีการวางแผนในการชำระหนี้เป็นครั้งคราว คิดเป็นร้อยละของ 36 ของการชำระหนี้บัตรทั้งหมด 3) ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อพฤติกรรมการใช้บัตรเครดิตและการชำระหนี้บัตรเครดิตของผู้ถือบัตรเครดิตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 มีเพียง 2 ปัจจัย คือ เพศ กับ รายได้โดยพบว่า เพศชายมีผลต่อการถือบัตรและชำระหนี้มากกว่าเพศหญิง และรายได้มีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกับการใช้จ่ายผ่านบัตรและยอดชำระหนี้th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectบัตรเครดิต -- การศึกษาการใช้th_TH
dc.subjectบัตรเครดิต -- ไทย -- การประชุมth_TH
dc.subjectการชำระหนี้th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ -- เศรษฐศาสตร์th_TH
dc.titleพฤติกรรมการใช้บัตรเครดิตและการชำระหนี้ของผู้ถือบัตรเครดิตของสถาบันการเงินในจังหวัดสกลนครth_TH
dc.title.alternativeUsage behavior of credit card holders of financial institutions in Sakon Nakhon Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to examine: 1) the usage behavior of credit card holders of financial institutions in Sakon Nakhon Province; 2) the debt payment behavior of credit card holders of financial institutions in Sakon Nakhon Province; and 3) the relationship between personal factors and the usage behaviors of credit card holders of financial institutions in Sakon Nakhon Province for their debt payments. The sample of this study comprised 250 credit card holders of financial institutions in Sakon Nakhon Province. The data were collected through convenience sampling method during January-April 2553 and using questionnaire as a research tool. The statistics used for analyzing the data were frequency, percentage and Chi-square. The results of the study were as follows. 1) The credit card holders of financial institutions in Sakon Nakhon Province used credit card for paying their goods and services between 10-20 times per month, 501-1,000 baht per time, and most of the expenses were for foods and drinks or 36% of total expenses. They also used more credit cards when their income increased. 2) Most credit card holders paid their debts at the minimum payment level specified by the financial institutions, and occasionally planed for the debt payment. 3) The personal factors affecting the usage and debt payment behaviors of credit card holders, with statistical significance at the 0.05 level, were gender and income. This study revealed that male hold more credit cards and paid their debts more than female, and income had positive relationships with the expenses through credit card and the debt paymenten_US
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
128344.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.92 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons