Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2496
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมนูญ โต๊ะยามา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพิทักษ์ อ่อนศิริ, 2515--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2022-12-22T06:51:35Z-
dc.date.available2022-12-22T06:51:35Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2496-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้เป็นลักษณะของการสังเคราะห์เนื้อหาจากเอกสารที่เกี่ยวข้องกับ มาตรฐานการครองชีพ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาแนวคิดและทฤษฏีที่เกี่ยวกับการครองชีพ ของมนุษย์ 2) วิเคราะห์และสังเคราะห์ตัวชี้วัดที่เกี่ยวกับการครองชีพ 3) เสนอแนะตัวชี้วัด มาตรฐานการครองชีพที่เหมาะสมสอดคล้องกับสังคมไทยและเสนอเอกสารในรูปของตำราวิชาการ วิธีการศึกษาเป็นการศึกษาจากแหล่งข้อมูลทุติยภูมิที่เป็นเอกสารรายงานบทความ วิชาการซึ่งเกี่ยวข้องกับเนื้อหาต่างๆ ได้แก่ ความหมาย ความสำคัญและองค์ประกอบของคุณภาพ ชีวิต แนวคิดและทฤษฏีเศรษฐศาสตร์ที่เกี่ยวกับการครองชีพของมนุษย์ ความต้องการขั้นพื้นฐาน ของมนุษย์ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยและตัวชี้วัดที่เกี่ยวกับมาตรฐานการครองชีพมีการ วิเคราะห์เพื่อเสนอตัวชี้วัดมาตรฐานการครองชีพของสังคมไทย ผลการศึกษาพบว่า 1) แนวคิดเกี่ยวกับคุณภาพชีวิต ประกอบด้วย ความต้องการขั้น พื้นฐานของมนุษย์ สวัสดิการสังคม ทฤษฏีการบริโภค ทฤษฏีอุปสงค์ รัฐธรรมนญแห่ง ราชอาณาจักรไทยที่กล่าวถึงคุณภาพชีวิต 2) การวิเคราะห์และสังเคราะห์ตัวชี้วัดมาตรฐานการครอง ชีพพิจารณาจากแนวคิดทฤษฏีและประเด็นที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพชีวิตและมาตรฐานการครองชีพที่ สอดคล้องกับสังคมไทยโดยเฉพาะรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยเพราะจะมีผลต่อการนำไป บังคับใช้ในทางปฏิบัติ 3) ตัวชี้วัดมาตรฐานการครองชีพของสังคมไทย 13 ตัวชี้วัดประกอบด้วย ปัจจัยสี่ คืออาหาร ที่อยู่อาศัย เครื่องนุงห่ม ยารักษาโรคและสุขภาวะและตัวชี้วัดอื่นๆ ได้แก่ การศึกษา รายได้ ความปลอดภัย ครอบครัว การมีไฟฟ้าและน้ำสะอาด การคมนาคมและ การสื่อสาร การมีงานทำ การมีส่วนร่วมในสังคม และการได้รับบริการจากภาครัฐth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectค่าครองชีพและมาตรฐานการครองชีพ -- ไทยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ -- เศรษฐศาสตร์th_TH
dc.titleตัวชี้วัดมาตรฐานการครองชีพของสังคมไทยth_TH
dc.title.alternativeStandard of living indicators in Thai societyth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
109297.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.42 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons