Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2516
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุชาดา ตั้งทางธรรม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorมณทิรา ลือสระน้อย, 2523--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2022-12-26T07:20:25Z-
dc.date.available2022-12-26T07:20:25Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2516-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพทั่วไปของปัญหาการไม่ยื่นแบบแสดง รายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาในเขตอำเภอเมืองศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ 2) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อ การไม่ยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา และ 3) พยากรณ์โอกาสที่ผู้มีหน้าที่ยื่นแบบแสดง รายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาจะไม่ยื่นแบบแสดงรายการภาษี การศึกษาใช้กลุ่มตัวอย่างจากผู้มีหน้าที่ยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (ภ.ง.ด. 90 และ ภ.ง.ด.91) ที่มีหลักแหล่งเงินได้ในเขตพื้นที่อำเภอเมืองศรีสะเกษ จำนวน 400 รายด้วย วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามแบบปลายปิด โดยกำหนดตัว แปรอิสระในการวิเคราะห์แบบจำลอง ได้แก่ รายได้ ความรู้ความเข้าใจในการยื่นแบบฯ ความ รับผิดชอบต่อสังคมของผู้มีหน้าที่ยื่นแบบฯ และความเป็นธรรมในการจัดเก็บภาษี จำแนกการวิเคราะห์ ออกเป็น 2 ส่วน คือ 1) การวิเคราะห์เชิงพรรณนา โดยใช้ค่าสถิติซึ่งประกอบด้วยค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย และ ค่าร้อยละ และ 2) การวิเคราะห์เชิงปริมาณ ใช้การวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกแบบ Binary Logistic วิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการไม่ยื่นแบบกับตัวแปรอิสระต่างๆ ในแบบจำลองและใช้ พยากรณ์โอกาสในการยื่นแบบฯ และไม่ยื่นแบบฯ ผลการศึกษา พบว่า 1) ปัญหาการไม่ยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาอยู่ใน ระดับรุนแรงมาก มีสาเหตุมาจากการขาดความรู้ ความเข้าใจในการยื่นแบบแสดงรายการภาษีและทัศนคติ ต่อการยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 2) ปัจจัยที่มีผลต่อการไม่ยื่นแบบแสดงรายการ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ได้แก่ ปัจจัยด้านความเป็นธรรมในการจัดเก็บภาษี มีนัยสาคัญที่ระดับ 0.05 แบบจำลองที่สร้างขึ้นสามารถอธิบายความผันแปรของตัวแปรได้ร้อยละ 90.90 และ 3) สามารถนำมา พยากรณ์โอกาสได้ว่ากลุ่มตัวอย่างมีโอกาสจะยื่นแบบแสดงรายการภาษีร้อยละ 57.90 และมีโอกาสไม่ยื่น แบบแสดงรายการภาษีร้อยละ 42.10th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ -- เศรษฐศาสตร์th_TH
dc.subjectการเลี่ยงภาษีth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการไม่ยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาของผู้มีหน้าที่ยื่นแบบแสดงรายการเสียภาษีในอำเภอเมืองศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษth_TH
dc.title.alternativeFactors influencing non-filing of Income Tax Returns of Taxpayers in Mueang Si Sa Ket District, Si Sa Ket Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to:1) study the general problem of non-filing personal income tax of the people in Meuang Si Sa Ket district, Si Sa Ket Province; 2) study factors influencing the non- filing of personal income tax returns; and 3) forecast the probability of non-filing income tax returns. The sample group consisted of 400 taxpayers who had to file personal income tax (P.N.D.90 and P.N.D.91) whose their incomes occurred in Meuang Si Sa Ket District. Data were collected by using a simple questionnaire via an accidental sampling method. Variables included in the model were income, knowledge related to filing of personal income tax returns, and social responsibility of taxpayers, and fairness in taxation. The study was divided into two parts: descriptive analysis and quantitative analysis by using binary logistic regression to investigate the relations of factors influencing the non-filing of personal income tax returns and to predict factors that may influence future filing and non-filing. The study found that: 1) the problems of non-filing personal income tax returns were at a serious level due to lack of concerning knowledge and attitude towards the filing; 2) the primary factor influencing non-filing of personal income tax returns was the perception of fairness in taxation with the level of statistical significance at 0.05 and the model could explain 90.90 % of the variability of the variables; and 3) the probabilities of filing and non-filing personal income tax returns in the future were 57.90% and 42.10% respectivelyen_US
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
143412.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.56 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons