Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2517
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรรฆย์คณา แย้มนวล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorมณีรัตน์ คงรัตน์, 2521--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2022-12-26T07:38:01Z-
dc.date.available2022-12-26T07:38:01Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2517-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพทั่วไปเกี่ยวกับการผลิตข้าวสังข์หยด ในอำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง 2) ต้นทุนการผลิตข้าวสังข์หยดในอำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง 3) ผลตอบแทนการผลิตข้าวสังข์หยดในอำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง และ 4) ปัญหาในการผลิต ข้าวสังข์หยดในอำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ประชากรที่ศึกษา ประกอบด้วยหัวหน้าครัวเรือนเกษตรกรผลิตข้าวสังข์หยดในอำเภอ ควนขนุน จังหวัดพัทลุง จำนวนทั้งสิ้น 341 ราย ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบง่าย จำนวน 229 ราย เก็บ ข้อมูลการผลิตข้าวสังข์หยด ปีการเพาะปลูก 2553/54 โดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยแบ่ง เกษตรกรเป็น 2 กลุ่มคือ เกษตรกรที่ผลิตข้าวสังข์หยดพัทลุงและเกษตรกรที่ผลิตข้าวสังข์หยดเมือง พัทลุง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าทดสอบที ผลการศึกษาพบว่า 1) เกษตรกรผลิตข้าวสังข์หยดพัทลุงและข้าวสังข์หยดเมืองพัทลุง มี จำนวนสมาชิกเฉลี่ยเท่ากับ 4.14 และ 4.88 คนต่อครัวเรือน อายุเฉลี่ยของหัวหน้าครัวเรือนเกษตรกร ผลิตข้าวสังข์หยดพัทลุงและข้าวสังข์หยดเมืองพัทลุง เท่ากับ 41.39 และ 39.04 ปี ระดับการศึกษา ส่วนใหญ่อยู่ในช่วงชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1-6 คิดเป็นร้อยละ 60 และ 44.59 การถือครองที่ดินเป็น ของตนเองคิดเป็น ร้อยละ 72.9 และ 100 ตามลำดับ 2) ต้นทุนการผลิตข้าวสังข์หยดพัทลุงและข้าว สังข์หยดเมืองพัทลุง เท่ากับ 5,934.23 และ 4,740.12 บาทต่อไร่ ตามลำดับ 3) ผลตอบแทนเหนือ ต้นทุนเงินสดของเกษตรกรที่ผลิตข้าวสังข์หยดพัทลุงและข้าวสังข์หยดเมืองพัทลุงเท่ากับ 1,548.84 และ 6,957.80 บาทต่อไร่ ตามลำดับ (4) ปัญหาในการผลิตข้าวสังข์หยดพัทลุง และข้าวสังข์หยดเมือง พัทลุง ได้แก่ โรคแมลงศัตรูพืช น้ำท่วม และการขาดแคลนแรงงานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectข้าว -- ไทย -- พัทลุง -- การตลาดth_TH
dc.titleการวิเคราะห์ต้นทุนผลตอบแทนการผลิตข้าวสังข์หยดในอำเภอควนขนุนจังหวัดพัทลุงปีการเพาะปลูก 2553/54th_TH
dc.title.alternativeCost and return analysis of Sangyod Rice production in Khonkanon District, Phatthalung Province, Crop Year 2010/11th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of the study were to investigate: 1) the general status of Sangyod rice production in Khonkanon district, Phatthalung province; 2) costs of Sangyod rice production in Khonkanon district, Phatthalung province; 3) returns of Sangyod rice production in Khonkanon district, Phatthalung province; and 4) problems of Sangyod rice production in Khonkanon district, Phatthalung province. The population comprised 341 farmers, heads of the Sangyod rice production households in Khonkanon district, Phatthalung province. The data were collected from 229 farmers through simple random sampling method by using questionnaire in the crop year 2010/11. In the analysis, the samples were categorized into 2 groups: Sangyod Phattalung rice farmers and Sangyod Muang Phatthalung rice farmers. The statistics used for the analysis were percentage, mean and t-test. The study revealed that: 1) for those two groups of farmers, the average of household members were 4.14 and 4.88 person, average age at 41.39 and 39.04 years old, educational levels between 1st grade to 6th at 60% and 44.59%, and being landowner at 72.9% and 100 %, respectively; 2) costs of Sangyod Phattalung rice production and Sangyod Muang Phatthalung rice production were 5,934.23 and 4,740.12 baht per rai, respectively; 3) returns of Sangyod Phattalung rice production and Sangyod Muang Phatthalung rice productions were 1,548.84 and 6,957.80 baht per rai, respectively; and 4) The problems founded in both Sangyod rice productions were pest, flood and labor shortageen_US
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
130066.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.28 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons