Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2530
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรัฐวิชญญ์ จิวสวัสดิ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorรวีวรรณ จันทร์แหนบ, 2521--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2022-12-27T07:56:35Z-
dc.date.available2022-12-27T07:56:35Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2530-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพทั่วไปของเกษตรกรที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยง สัตว์ ในเขตชลประทานและนอกเขตชลประทาน อาเภอเมืองฯ จังหวัดเพชรบูรณ์ 2) วิเคราะห์ต้นทุน การผลิต และผลตอบแทนการผลิตจากการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ในเขตชลประทานและนอกเขต ชลประทาน อาเภอเมืองฯ จังหวัดเพชรบูรณ์ 3) ศึกษาความคุ้มทุนของการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ใน เขตชลประทานและนอกเขตชลประทาน อาเภอเมืองฯ จังหวัดเพชรบูรณ์ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจโดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากครัวเรือนเกษตรกรที่ ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในช่วงเดือน พฤษภาคม 2553 – ตุลาคม 2553 ทั้งในเขตและนอกเขตพื้นที่ ชลประทานทั้งหมด 97 ครัวเรือน โดยการสัมภาษณ์และตอบแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการ หาค่าร้อยละและค่าเฉลี่ย ผลการศึกษาพบว่า 1) เกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในเขต พื้นที่ชลประทาน ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุอยู่ระหว่าง 31-45 ปี จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มีประสบการณ์ในการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เฉลี่ย 12.6 ปี ส่วนเกษตรกรที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ นอกเขตพื้นที่ชลประทานส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุระหว่าง 31-45 ปี จบการศึกษาระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น มีประสบการณ์ในการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เฉลี่ย 8 ปี แหล่งทุนในการผลิต ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของเกษตรกรทั้งสองเขตพื้นที่ ส่วนใหญ่กู้เงินจากธนาคารเพื่อการเกษตรและ สหกรณ์การเกษตร 2) ต้นทุนรวมเฉลี่ยต่อไร่เท่ากับ 7,513.4 บาท ต้นทุนคงที่รวมเฉลี่ยต่อไร่เท่ากับ 1,598.1 บาท และต้นทุนผันแปรรวมเฉลี่ยต่อไร่เท่ากับ 5,915.3 บาท ในเขตพื้นที่ชลประทานมีต้นทุน คงที่เฉลี่ยต่อไร่เท่ากับ 1,466.1 บาท ต้นทุนผันแปรเฉลี่ยต่อไร่เท่ากับ 5,101.6 บาท เกษตรกรมีกำไร สุทธิเฉลี่ยต่อไร่ 4,722.5 บาท ส่วนพื้นที่นอกเขตชลประทานมีต้นทุนคงที่เฉลี่ยต่อไร่เท่ากับ 1,690.1 บาท ต้นทุนผันแปรเฉลี่ยต่อไร่เท่ากับ 6,728.7 บาท มีกำไรสุทธิเฉลี่ยต่อไร่ 2,841.8 บาท 3) ปริมาณ การผลิตคุ้มทุนต่อไร่รวมเฉลี่ยเท่ากับ 1,015.3 กิโลกรัม ในเขตชลประทาน ปริมาณการผลิตคุ้มทุนต่อ ไร่เท่ากับ 887.5 กิโลกรัม และนอกพื้นที่เขตชลประทานเท่ากับ 1,137.7 กิโลกรัมth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectข้าวโพด -- ต้นทุนการผลิตth_TH
dc.subjectข้าวโพด -- การปลูกth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ -- เศรษฐศาสตร์th_TH
dc.titleการวิเคราะห์เปรียบเทียบต้นทุนและผลตอบแทนการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ระหว่างพื้นที่ในเขตชลประทานและนอกเขตชลประทาน อำเภอเมืองฯ จังหวัดเพชรบูรณ์th_TH
dc.title.alternativeCost-benefit analysis of the maize production in the irrigated and non-irrigated areas in Muang District, Phetchabun Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aimed to 1) examine the general condition of the farmers growing maize in the irregated and non-irrigated areas in Muang district, Phetchabun province. 2) analysis production costs and benefit in the irregated and non-irrigated areas in Muang district, Phetchabun province, and 3) investigate the break-even point of maize production in the irrigated and non-irrigated areas in Muang district, Phetchabun province. The study was a survey research collecting data from 97 maize farmer households in both irrigated and non-irrigated areas during May - October 2010. The data were gathered through interviews and questionnaires, and percentage and mean were applied to analyze them. The results showed that: 1) most of maize farmers in the irrigated area were female, 31-45 years old, graduated from high school, and had 12.6 years of experience in growing maize, while most of the farmers in non-irrigated area were male, graduated from secondary school, and had 8 years of experience in the farming. Funding for the production of both areas were mostly borrowed from the Bank for Agriculture and Agricultural Cooperatives. 2) An average of total costs per rai was 7,513.4 bath, an average of total fixed costs was 1,598.1 baht, and an average of total variable cost was 5,915.3 baht. In the irrigated area, an average of total fixed costs was 1,466.1 baht, an average of total variable costs was 5,101.6 baht, and a net profit was 4,722.5 baht. For the non-irrigated area, an average of total fixed costs was 1,690.1 baht, an average of total variable costs was 6,728.7 baht, and a net profit was 2,841.8 baht. 3) The break-even point of production was at 1,015.3 kilograms per rai, and for the irrigated and non-irrigated areas, it was at 887.5 and at 1,137.7 kilograms per rai respectivelyen_US
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
130939.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.64 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons