Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2537
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมนูญ โต๊ะยามา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorลภัสรดา อ่างแก้ว, 2518--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2022-12-28T07:39:59Z-
dc.date.available2022-12-28T07:39:59Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2537-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ข้อมูลพื้นฐานของผู้เสียภาษี 2) ปัจจัยส่วนบุคคลที่ มีผลต่อการตัดสินใจเลือกและไม่เลือกยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาผ่านอินเทอร์เน็ต 3) ความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยอื่นๆ ที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกและไม่เลือกยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดาผ่านอินเทอร์เน็ต และ 4) ปัญหาและอุปสรรคของการยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้บุคคล ธรรมดาผ่านอินเทอร์เน็ตของผู้เสียภาษีในจังหวัดปราจีนบุรี ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาใช้แบบสอบถามเก็บรวมรวมข้อมูลจากตัวอย่างที่เป็นผู้เสียภาษีใน จังหวัดปราจีนบุรี ที่ยื่นแบบและไม่ยื่นแสดงรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ผ่านอินเทอร์เน็ต โดยการสุ่ม แบบบังเอิญ และข้อมูลจากเอกสารและรายงานที่เกี่ยวข้อง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ได้แก่ สถิติเชิงพรรณนา และแบบจำลองการถดถอยโลจิสติก ผลการศึกษาพบว่า 1) ข้อมูลพื้นฐานของผู้เสียภาษีที่เลือกยื่นแบบภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ผ่านอินเทอร์เน็ตส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุ 31-40 ปี การศึกษาปริญญาตรีขึ้นไป อาชีพพนักงานบริษัท รายได้ต่อปี มากกว่า 300,000 บาท มีคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตที่บ้านหรือที่ทำงาน ส่วนผู้ที่ไม่ เลือกยื่นแบบภาษีเงินได้ผ่านอินเทอร์เน็ตส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุ 41 ปี ขึ้นไป การศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี อาชีพพนักงานบริษัท รายได้ต่อปี ไม่เกิน 200,000 บาท ไม่มีคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตที่บ้านหรือ ที่ทำงาน 2) ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้เสียภาษีที่มีผลต่อโอกาสในการเลือกยื่นแบบภาษีเงินได้ผ่าน อินเทอร์เน็ตที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ได้แก่ อายุ และอาชีพโดยผู้ที่มีอายุมากขึ้นมีโอกาสเลือกยื่นแบบภาษี เงินได้ ผ่านอินเทอร์เน็ตลดลง และอาชีพพนักงานบริษัทมีโอกาสเลือกยื่นแบบภาษีเงินได้ผ่านอินเทอร์เน็ต มากกว่าอาชีพอื่นๆ 3) ปัจจัยอื่นๆ ที่ผู้เสียภาษีเห็นว่ามีผลต่อการตัดสินใจเลือกยื่นแบบภาษีเงินได้ ผ่านอินเทอร์เน็ตมากที่สุด ได้แก่ การประหยัด เวลาและค่าใช้จ่ายในการไปยื่นแบบที่สำนักงานสรรพากร พื้นที่สาขา 4) ปัญหาและอุปสรรคของการยื่นแบบภาษีเงินได้ผ่านอินเทอร์เน็ตตามลำดับ ได้แก่ การลืม หมายเลขผู้ใช้้/รหัสผ่านและต้องดำเนินการขอใหม่ การเข้าเว็บไซต์ของกรมสรรพากรมีความล่าช้า และ การไม่เข้าใจหลักเกณฑ์ และวิธีการในการกรอกแบบรายการผ่านอินเทอร์เน็ตth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการชำระบัญชีth_TH
dc.subjectภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ -- เศรษฐศาสตร์th_TH
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาผ่านอินเทอร์เน็ตของผู้เสียภาษีในจังหวัดปราจีนบุรีth_TH
dc.title.alternativeFactors influencing the decision to file a personal income tax over the internet of Taxpayers in Prachin Buri Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study has four objectives to examine: 1) the general characteristics of taxpayers; 2) the personal factors influencing the opinions about the decision making to file or not to file a personal income tax over the internet; 3) the opinions on other factors influencing the decision to file or not to file a personal income tax over the internet; and 4) the problems and obstacles of personal income tax submission over the internet by taxpayers in Prachin Buri Province. Primary data had been randomly collected from taxpayers’ questionnaires in Prachin Buri Province who filed and not to file personal income tax over the internet. Secondary data had been collected from related papers and reports. Descriptive statistics and Binary Logistic Regression Analysis were used to analyze the data. The results of study were: 1) the general characteristics of taxpayers who decided to file a personal income tax over the internet mostly were female, 31-40 years old, bachelor’s degree graduate or above, business employee career, with 300,001 Baht or upper annual income, having access to computer and internet system at home or work place. The general characteristics of taxpayers who did not decide to file a personal income tax over the internet were mostly female, 41 years old or older, under bachelor’s degree graduate, business employee career, with 1-200,00 Baht annual income, did not access to computer and internet system at home or work place. 2) The personal factors influencing the taxpayers who decided to file a personal income tax over the internet at the 0.05 significance level were age and career on which older age had less chance to file and business employee had more chance to file. 3) other factors influencing the decision of taxpayers to file a personal income tax over the internet were saving time and costs to file at the Area Revenue Branch Office. 4) The important problems and obstacles of personal income tax submission over the internet were the forgotten of User ID/Password and had to complete a new request, the delay in getting through the Revenue Department’s website and insufficient understanding on principle and methods in filing on interneten_US
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
151353.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.15 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons