Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2562
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorส่งเสริม หอมกลิ่น, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorดุจนภา เทศสีหา-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.date.accessioned2023-01-03T07:12:17Z-
dc.date.available2023-01-03T07:12:17Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2562-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพทั่วไปของสหกรณ์ 2) เพื่อวิเคราะห์ผลการดำเนินงานและฐานะ การเงินของสหกรณ์ และ 3) เพื่อศึกษาแนวโน้มผลการดำเนินงานและฐานะการเงินสหกรณ์การเกษตรน้ำพอง จำกัด จังหวัด ขอนแก่น วิธีการศึกษา เป็นการเก็บข้อมูลทุติยภูมิ โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสารรายงานงบแสดงฐานะการเงิน งบกำไรขาดทุน หมายเหตุประกอบงบการเงิน และเอกสารทางการเงินอื่นๆ ของสหกรณ์ในช่วงปี บัญชี 2553 -2557 การวิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีวิเคราะห์งบการเงินตามแนวตั้ง การวิเคราะห์งบการเงินตามแนวโน้ม และการวิเคราะห์ อัตราส่วนทางการเงิน แบบ CAMELS โดยเปรียบเทียบกับค่าเฉลี่ยของกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ผลการศึกษาพบว่า 1) สภาพทั่วไปสหกรณ์ การเกษตรน้ำพอง จำกัด ณ วันที่ 31 มีนาคม 2558 เป็นสหกรณ์ขนาดใหญ่มาก มีการดำเนินงาน 3 สาขา มีสมาชิก 5,794 คน ดำเนินธุรกิจสินเชื่อ ธุรกิจจัดหาสินค้ามา จำหน่าย ธุรกิจรวบรวมผลิตผล ธุรกิจรับฝากเงิน และธุรกิจบริการและส่งเสริมการเกษตร มีสินทรัพย์ 614.91 ล้านบาท หนี้สิน 403.32 ล้านบาท และทุน 211.59 ล้านบาท และมีกำไรสุทธิ 15.31 ล้านบาท 2) ผลการดำเนินงานและฐานะการเงิน ในช่วงปี 2553 –2557 มีกำไร ต่อเนื่องกัน ทุกปีฐานะการเงินของสหกรณ์สหกรณ์มีสินทรัพย์หมุนเวียนมากกว่าสินทรัพย์ ไม่หมุนเวียน หนี้สินหมุนเวียนมากกว่าหนี้สินไม่หมุนเวียน ทุนของสหกรณ์มีอัตราส่วนร้อยละ 34.41 - 37.53 ของหนี้สิน และ ทุน หากพิจารณาแล้วสหกรณ์มีความเสี่ยงเนื่องจากหนี้สินทั้งสิ้นมากกว่าทุน การวิเคราะห์ด้านอัตราส่วนทางการเงินในมุมมอง 6 มิติเปรียบเทียบกับค่าเฉลี่ยสหกรณ์ พบว่า มิติที่ 1 ความเพียงพอของเงินทุนต่อความเสี่ยงอยู่ในเกณฑ์ดีกว่าค่าเฉลี่ย แต่ยังมี ความเสี่ยงเนื่องจากอัตราส่วนหนี้สินต่อทุนต่ำกว่าค่าเฉลี่ย การเติบโตของทุนและผลตอบแทนต่อส่วนของทุนสูงกวาสหกรณ์ เฉลี่ย มิติที่ 2 คุณภาพของสินทรัพย์อยู่ในเกณฑ์พอใช้ อัตราหนี้ค้างชำระต่ำกว่าค่าเฉลี่ย ถึงแม้รอบหมุนของสินทรัพย์และอัตรา การเติบโตของสินทรัพย์จะต่ำกว่าค่าเฉลี่ยแต่อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์นั้นสูงกว่าค่าเฉลี่ยมิติที่ 3 ขีดความสามารถในการ บริหารจัดการของสหกรณ์อยูในเกณฑ์ด้อยกว่าค่าเฉลี่ย เนื่องจากได้รับผลกระทบโดยตรงและไม่สามารถควบคุมได้ต่อการดำเนิน ธุรกิจจากโครงการพักหนี้ฯ โครงการรับจำนำข้าว ซึ่งเป็นนโยบายของรัฐบาล มิติที่ 4 การทำกำไรของสหกรณ์อยู่ในเกณฑ์ดี สหกรณ์สามารถควบคุมค่าใช้จ่ายและบริหารกิจการให้มีกำไรสุทธิได้ดีกว่าค่าเฉลี่ย อัตราเงินออม/หนี้ต่อสมาชิกสูงกว่าค่าเฉลี่ย ค่อนข้างมาก แต่หนี้สินต่อสมาชิกสูงกว่าเงินออม มิติที่ 5 สภาพคล่องของสหกรณ์ขึ้นอยู่กับประสิทธิภาพในการบริหารลูกหนี้ และเงินรับฝาก มิติที่ 6 ผลกระทบต่อธุรกิจได้รับผลกระทบในการดำเนินธุรกิจทั้งจากคู่แข่ง ความสามารถของสมาชิกเอง และ โดยเฉพาะการแทรกแซงจากรัฐบาลที่ไม่สามารถควบคุมได้ 3) แนวโน้มปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้นทุกปี รายได้ ค่าใช้จ่าย มีแนวโน้ม เพิ่มขึ้น แต่กำไรสุทธิของสหกรณ์กลับมีแนวโน้มลดลง ส่วนฐานะการเงินโดยรวมค่อนข้างดี สินทรัพย์ หนี้สินและทุนของ สหกรณ์มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสหกรณ์การเกษตรน้ำพองth_TH
dc.subjectสหกรณ์การเกษตร--การบริหารth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สหกรณ์th_TH
dc.titleการวิเคราะห์ผลการดำเนินงานและฐานะการเงินของสหกรณ์การเกษตรน้ำพอง จำกัด จังหวัดขอนแก่นth_TH
dc.title.alternativeAnalysis of the performance and financial status of Nam Phong Agricultural Cooperative, Ltd.,Khon Kaen Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สหกรณ์)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were 1) to study the general condition of Nam Phong Agricultural Cooperative, Ltd.; 2) to analyze its operational performance and financial status; and 3) to predict trends for its future performance and financial status. The research method was to collect secondary data from the cooperative’s financial statements, profit and loss, notes of financial statement and other financial documents from the 2010 to the 2014 accounting years, and to analyze the data using common-size accounting, trend analysis, and CAMELS financial ratios, and to make comparisons with the average values from the Department of Cooperatives Auditing. The results showed that 1) as of 31 March 2015, Nam Phong Agricultural Cooperative, Ltd., was classified as a very large cooperative, with three branches and 5,794 members. It was involved in the credit business, sales, product consolidation, savings, and agricultural management and extension. It had assets of 614.91 million baht, debts of 403.32 million baht, capital of 211.59 million baht and net profits of 15.31 million baht. 2) In the period 2010 to 2014, the cooperative made profits every year, had more working assets than non-working assets, and had more working credits than non-working credits. Its capital was worth 34.4% of its debts and 37.53% its capital. Overall, its risk from total debits was greater than its capital. For the CAMELS analysis; Capital strength (C) was better than average, but there were risks because the debit to capital ratio was lower than average, even though its capital growth and return to equity were higher than average; Asset quality (A) was in adequate level, unpaid credits were lower than average, and although its asset turnover rate and asset growth rate were lower than average, its returns to assets ratio was higher than average; Management ability (M) was below average, because the government’s debt freezing and rice pawning policies caused uncontrollable and direct impacts on the business; Earnings sufficiency (E) was in good level, the cooperative could control its expenses and manage its business to make profits higher than average level, and the savings to debt ratio per member was quite high compared to average, but debt per member was higher than savings overall; Liquidity (L) depended on the cooperative’s efficiency in managing creditors and deposits; Sensitivity (S), the cooperative was impacted by competing businesses, the abilities of its members, and especially government intervention, which was beyond its control. 3) There is a trend for the cooperative’s business volume to increase each year, and for its income and expenses to rise, but for its net profits to decrease. There is a trend for its overall financial status to remain rather good, with continuous increases in assets, credits and capitalen_US
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
150201.pdfเอกสารฉบับเต็ม21.07 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons