Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2575
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อนุชา ภูริพันธ์ภิญโญ | th_TH |
dc.contributor.author | ทอแสง สุขส่ง | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-01-04T02:42:21Z | - |
dc.date.available | 2023-01-04T02:42:21Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2575 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาถึงสภาพทั่วไปของกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดยโสธร ที่มีผลต่อการกู้ยืมเงินและการชำระคืนเงินกู้ของกลุ่มเกษตรกรที่กู้ยืมเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร 2) ศึกษาถึง ปัญหาอุปสรรคในการส่งชำระคืนเงินกู้กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร 3) หาแนวทางในการแก้ไขปัญหาการค้าง ชำระหนี้ของกลุ่มเกษตรกรที่กู้ยืมเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร ประชากรที่ศึกษา คือจำนวนกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดยโสธร ที่มีหนี้ค้างชำระกองทุนสงเคราะห์ เกษตรกร จำนวน 5 กลุ่มเกษตรกรโดยศึกษาจากกกลุ่มตัวอยางคือ คณะกรรมการดำเนินการและสมาชิกแกนนำ ของกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดยโสธร ที่มีหนี้ค้างชำระจำนวน 5 กลุ่ม รวม 25 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ผู้ศึกษาใช้การสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง (Semi -Structural Interview) โดยการสัมภาษณ์คณะกรรมการ ดำเนินการและสมาชิกแกนนำ แล้วนำข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์และข้อเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหา นำมาจัดหมวดหมู่และวิเคราะห์เพื่อให้เห็นถึงสถานการณ์ในการดำเนินธุรกิจของกลุ่มเกษตรกรและปัจจัยที่มี ผลกระทบต่อความสามารถในการส่งชำระคืนเงินกู้กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร ผลการของศึกษา พบว่า 1) การดำเนินธุรกิจของกลุ่มเกษตรกรและการบริหารจัดการภายในกลุ่ม เกษตรกรยังไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร ทำให้ประสบกับปัญหาการขาดทุนและสภาพคล่องในการดำเนินงานของ กลุ่มเกษตรกร 2) กลุ่มเกษตรกรที่กู้ยืมเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร ส่วนใหญ่ไม่สามารถส่งชำระหนี้คืน กองทุนสงเคราะห์เกษตรกรได้เนื่องจากกลุ่มเกษตรกรมีรายได้ไม่เพียงพอต่อรายจ่าย และไม่สามารถเก็บหนี้ เงินกู้จากสมาชิกได้ เพราะสมาชิกมีรายได้ไม่เพียงพอกับรายจ่าย 3) แนวทางการแก้ไข ปัญหาหนี้ค้างชำระ เงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ควรติดตามแนะนำเรื่องการบริหารจัดการภายในกลุ่ม เกษตรกรให้มีประสิทธิภาพ และวางแผนในการแนะนำส่งเสริมการดำเนินธุรกิจและการติดตามเร่งรัดหนี้จากกลุ่ม เกษตรกร อย่างต่อเนื่องเป็นระบบและใกล้ชิดกับกลุ่มเกษตร ข้อเสนอแนะ จากผลการศึกษาสำนักงานสหกรณ์จังหวัด ยโสธร จึงควรวางแนวทางในการแนะนำส่งเสริมกลุ่มเกษตรกร และกำหนดแนวทางหลักเกณฑ์การพิจารณาการ จ่ายเงินกู้กองทุนสงเคราะห์เกษตรกรให้กับกลุ่มเกษตรกรที่ขออนุมัติเงินกู้ ให้รัดกุมและเป็นไปตามความต้องการ ของกลุ่มเกษตรกรและสมาชิกกลุ่มเกษตรกรอย่างแท้จริง เพื่อป้องกันปัญหาหนี้ค้างชำระเงินกองทุนสงเคราะห์ เกษตรกรต่อไป | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--สหกรณ์ | th_TH |
dc.subject | หนี้ | th_TH |
dc.title | แนวทางการแก้ไขปัญหาหนี้ค้างชำระกองทุนสงเคราะห์เกษตรกรของกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดยโสธร | th_TH |
dc.title.alternative | Guidance for resolving the farmers welfare fund unpaid debts of farmers in Yasothon Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สหกรณ์) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this independent study were 1) to study general state of farmer groups in Yasothon Province which affected taking out loans and repaying the loans of farmer groups who took out loans from the Farmer Welfare Fund; 2) to study their problems and constraints on repaying their loans taken out from the Farmer Welfare Fund; and 3) to study the guidance on resolving their unpaid debts. The population in this study was 5 farmer groups in Yasothon Province who had unpaid debts with the Farmer Welfare Fund. The 25 samples were the farmers who were on the operating committee and the leaders of cooperative members selected from these farmer groups. The data were collected by interviewing these persons using semi-structural interview form. The statistical methodology used to analyze the data was frequency, percentage and content analyze. The findings of this study were as follows: 1 ) the business operations of these farmer groups and the management within the farmer groups had insufficient efficiency leading to their loss and tight financial situation. 2) The farmer groups and other cooperative members who took out loans from the Farmer Welfare Fund mostly could not repay their loans because their income was lower than their expenses. 3 ) Considering the guidance on resolving the unpaid debts of these farmer groups, the cooperative extension officials should have closely monitored and suggested the efficient management within their group to these farmer groups, planned their business operations, and closely rushed their debts systematically and continuously. Furthermore, there were some suggestions from the study of Yasothon Provincial Cooperative Office as follows: the cooperative extension officials should have suggested guidance on resolving this problem, determined certain rules and regulations in approving the farmer groups’ applications for the welfare fund adhering to their real need in order to prevent the problem on unpaid debts in the future. | en_US |
Appears in Collections: | Agri-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
146704.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 11.68 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License