Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2589
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมนูญ โต๊ะยามา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorศศิวิมล ตันติวุฒิ, 2527--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-01-04T07:09:48Z-
dc.date.available2023-01-04T07:09:48Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2589-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สถานการณ์การเคลื่อนย้ายแรงงานต่างด้าว (2) ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเคลื่อนย้ายแรงงาน และ (3) นโยบายและมาตรการสวัสดิการแรงงานต่างด้าวที่มีนัยต่อ การเคลื่อนย้ายแรงงานจากสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และราชอาณาจักรกัมพูชาสู่ประเทศไทย การศึกษานี้ใช้ข้อมูลทุติยภูมิรายปี ระหว่างปี พ.ศ. 2541 ถึง 2558 โดยข้อมูลจำนวนแรงงาน ต่างด้าวไร้ฝีมือที่รวบรวมจากสำนักบริหารแรงงานต่างด้าว กรมการจัดหาแรงงาน และข้อมูลรายได้ต่อหัว อัตราการว่างงาน ค่าจ้างขั้นต่ำ ซึ่งรวบรวมจากข้อมูลสถิติของธนาคารโลก วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้แบบจำลอง ทางเศรษฐมิติในรูปของสมการถดถอยเชิงซ้อน ด้วยวิธีการประมาณค่าแบบกำลังสองน้อยที่สุด ผลการศึกษาพบว่า (1) ในช่วงปี พ.ศ. 2540 - 2559 แรงงานสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และกัมพูชาที่เข้ามาทำงานในประเทศไทยส่วนใหญ่เป็นประเภท ไร้ฝีมือและจากสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา โดยผู้ที่ได้รับใบอนุญาตตามมาตรา 9 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ต่อเนื่องและเพิ่มขึ้นอย่างมากตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552 แรงงานตามมาตรา 12 มีจำนวนน้อยที่สุดและเพิ่มขึ้น ในอัตราค่อนข้างคงที่ แรงงานตามมาตรา 13 เพิ่มขึ้นต่อเนื่องในปี พ.ศ. 2540 - 2545 และ 2556 (2) ปัจจัยที่ ส่งผลในทิศทางเดียวกันต่อการเคลื่อนย้ายแรงงานของทั้ง 3 ประเทศ ได้แก่ รายได้ต่อหัวของประเทศไทย ส่งผลที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 เท่ากันและอัตราค่าจ้างขั้นต่ำของประเทศไทย ส่งผลต่อแรงงานเมียนมาและลาว ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 และ กัมพูชา ที่ระดับสำคัญ 0.1 ด้านอัตราการว่างของประเทศไทย ส่งผลในทิศทาง เดียวกันต่อการเคลื่อนย้ายแรงงานลาวและกัมพูชา ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 และ 0.1 ตามลำดับ ในขณะที่รายได้ ต่อหัวของประเทศต้นทางมีเฉพาะของราชอาณาจักรกัมพูชา ที่ส่งผลในทิศทางตรงกันข้ามต่อการเคลื่อนย้าย แรงงานกัมพูชา ที่ระดับนัยสำคัญ 0.1 และอัตราการว่างงานของประเทศต้นทาง ส่งผลในทิศทางเดียวกัน ต่อการเคลื่อนย้ายแรงงานเมียนมาและลาว ที่ระดับนัยสำคัญ 0.1 เท่ากัน และ (3) สวัสดิการด้านสุขภาพ เป็นปัจจัยที่มีนัยในทิศทางเดียวกันต่อการเคลื่อนย้ายแรงงานทั้ง 3 ประเทศ มาสู่ประเทศไทยที่ระดับนัยสำคัญที่ 0.01 ในขณะที่สวัสดิการด้านการศึกษาของประเทศไทยไม่มีนัยต่อการเคลื่อนย้ายของแรงงานจากทั้ง 3 ประเทศth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothrth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสวัสดิการลูกจ้าง -- ไทยth_TH
dc.subjectแรงงานต่างด้าวกัมพูชา -- ไทยth_TH
dc.subjectแรงงานต่างด้าวพม่า -- ไทยth_TH
dc.subjectแรงงานต่างด้าว -- ไทยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ -- เศรษฐศาสตร์th_TH
dc.titleนโยบายและมาตรการสวัสดิการแรงงานต่างด้าวกับการเคลื่อนย้ายแรงงานจากสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวและราชอาณาจักรกัมพูชามาสู่ประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeWelfare policy and measures regarding foreign labours towards labour migration from Republic of the Union of Myanmar, the Lao People's Democratic Republic and Kingdom of Cambodia to Thailandth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study: (1) situation of migrant workers from Myanmar, Laos and Cambodia in Thailand; (2) factors affecting the migration of workers; and (3) polices and migrant workers’ welfare that have implications for the relocation of workers from Republic of the Union of Myanmar, the Lao People’s Democratic Republic and Kingdom of Cambodia to Thailand. This study uses the secondary data annually during 1998 to 2015. The number of unskilled migrant workers collected from the Office of Foreign Workers Administration, Department of Employment, Ministry of Labours and the average GDP per capita, unemployment rate, and minimum wage compiled from World Bank. This study uses econometric models in the form of Multiple Linear Regression with the Ordinary Least Square method analysis. The study found that (1) during the years 1997-1995, workers from the Union of Myanmar, the Lao People’s Democratic Republic and Kingdom of Cambodia who came to work in Thailand were unskilled and mostly Myanmar. The licensee under Section 9 is likely to continue to increase and had increased significantly since 2009, as the number of workers under Section 12 is the smallest and had increased steadily. Labor under Section 13 increased continuously in 1997- 2002 and 2013. (2) Factors that affect the movement of labour in the three countries are Thai GDP per capita at the same significant level of 0.05. Thailand's minimum wage rate had a significant impact on workers from Myanmar and Laos at 0.05 and Cambodia at 0.1.Thailand's unemployment rate had the same effect on labour mobility from Laos and Cambodia at significant levels of 0.05 and 0.1, respectively. Meanwhile, the GDP per capita of only Kingdom of Cambodia was in the opposite direction to Cambodia's workers at the significant level of 0.1. The unemployment rate of the country of origin had the same effect on the migrant workers from Myanmar and Laos at a significant level of 0.1. Finally, (3) health welfare was a significant factor in migration of workers from the three countries to Thailand at a significant level of 0.01, while education benefits might not imply labour migrationen_US
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
157898.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.51 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons