Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2592
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอัจฉรา ชีวะตระกูลกิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorธิดารัตน์ บุพศิริ-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์th_TH
dc.date.accessioned2023-01-04T07:24:10Z-
dc.date.available2023-01-04T07:24:10Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2592-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลของฝ่ายจัดการสหกรณ์การเกษตรในจังหวัด สระแก้ว (2) ความเห็นของฝ่ายจัดการที่มีต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของฝ่ายจัดการสหกรณ์การเกษตรในจังหวัด สระแก้ว (3) ระดับความสำคัญของปัจจัยด้านการปฏิบัติงานที่มีต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของฝ่ายจัดการสหกรณ์ การเกษตรในจังหวัดสระแก้ว (4) เปรียบเทียบปัจจัยส่วนบุคคลที่มีต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของฝ่ายจัดการสหกรณ์ การเกษตรในจังหวัดสระแก้ว (5) ความสัมพันธ์ของปัจจัยด้านการปฏิบัติงานที่มีต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของฝ่าย จัดการสหกรณ์การเกษตรในจังหวัดสระแก้ว และ (6) เสนอแนะการพัฒนาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของฝ่ายจัดการ สหกรณ์การเกษตรในจังหวัดสระแก้ว ประชากร ได้แก่ ฝ่ายจัดการสหกรณ์การเกษตรในจังหวัดสระแก้ว จำนวน 13 แห่ง รวม 180 คน กำหนด ขนาดตัวอย่างโดยใช้สูตร Taro Yamane จำนวน 124 คน ใช้วิธีการสุ่มแบบสัดส่วน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลคือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ ความแปรปรวนทางเดียว และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า (1) ฝ่ายจัดการสหกรณ์การเกษตรในจังหวัดสระแก้ว ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุต่ำ กว่า 30 ปี การศึกษาระดับปริญญาตรี เงินเดือน 10,001- 20,000 บาท ตำแหน่งเจ้าหน้าที่การเงินและบัญชีระยะเวลาการ ปฏิบัติงานน้อยกว่า 10 ปี (2) ฝ่ายจัดการสหกรณ์การเกษตรในจังหวัดสระแก้ว มีความเห็นเกี่ยวกับประสิทธิภาพการ ปฏิบัติงานอยู่ในระดับปานกลาง (3) ระดับความสำคัญของปัจจัยด้านการปฏิบัติงานที่มีต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของ ฝ่ายจัดการสหกรณ์การเกษตรในจังหวัดสระแก้ว พบว่า ปัจจัยด้านนโยบายและการบริหาร และด้านสภาพแวดล้อมในการ ปฏิบัติงาน มีระดับความสำคัญอยู่ในระดับมาก ปัจจัยด้านความก้าวหน้าในการปฏิบัติงาน และด้านความพึงพอใจในการ ปฏิบัติงาน มีระดับความสำคัญอยู่ในระดับปานกลาง (4) เปรียบเทียบปัจจัยส่วนบุคคลที่มีต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ของฝ่ายจัดการสหกรณ์การเกษตรในจังหวัดสระแก้ว พบว่า เพศ ระดับการศึกษา ตำแหน่งงาน ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ที่ต่างกัน มีผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานไม่แตกต่างกัน ยกเว้น ปัจจัยส่วนบุคคลจำแนกตามอายุและระดับเงินเดือน ที่ แตกต่างกันมีผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 และ 0.01 ตามลำดับ (5) ความสัมพันธ์ของปัจจัยด้านการปฏิบัติงานที่มีต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของฝ่ายจัดการสหกรณ์การเกษตรใน จังหวัดสระแก้ว พบว่า ปัจจัยด้านนโยบายและการบริหาร และปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมในการปฏิบัติงานไม่สัมพันธ์กับ ประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ปัจจัยด้านความก้าวหน้าในการปฏิบัติงาน และปัจจัยด้านความพึงพอใจในการปฏิบัติงานมี ความสัมพันธ์กับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ 0.01 (6) ข้อเสนอแนะ ในการพัฒนา ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของฝ่ายจัดการสหกรณ์การเกษตรในจังหวัดสระแก้ว พบว่าฝ่ายจัดการต้องการให้มีการศึกษา อบรม สัมมนา เพื่อเพิ่มทักษะในการปฏิบัติงาน มากที่สุด รองลงมาฝ่ายจัดการต้องการสิ่งอำนวยความสะดวกในการ ปฏิบัติงาน การจัดให้มีสวัสดิการอย่างเหมาะสมและคณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์ควรมีแนวทางการบริหารที่ชัดเจน และโปร่งใสth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสหกรณ์การเกษตร--ไทย--สระแก้วth_TH
dc.subjectสหกรณ์การเกษตร--การบริหารงานบุคคลth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สหกรณ์th_TH
dc.subjectการทำงานth_TH
dc.titleปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของฝ่ายจัดการสหกรณ์การเกษตร ในจังหวัดสระแก้วth_TH
dc.title.alternativeFactors related to the work efficiency of agricultural cooperatives managers in Sa Kaeo Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สหกรณ์)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study: (1) the personal the factors of agricultural cooperatives managers in Sa Kaeo Province; (2) those managers’ opinions on the efficiency of their work; (3) the importance of work-related factors in the work efficiency of those managers; (4) to compare the managers’ personal factors with their work efficiency; (5) to study the relationship of work-related factors with their work efficiency; and (6) to form recommendations for developing their work efficiency. The study population was 180 personnel working at 13 agricultural cooperatives in Sa Kaeo Province, out of which a sample population of 124 was selected using the Taro Yamane formula. Data were collected using a questionnaire and analyzed using percentage, mean, standard deviation, t-test ANOVA and content analysis. The results showed that (1) Most of the agricultural cooperative managers in Sa Kaeo Province were female, age under 30, educated to the bachelor’s degree level, and had income of 10,001-20,000 baht a month. Most were working in the position of finance and accounting official and had worked at the cooperative for less than 10 years. (2) The majority rated their work efficiency at “medium” level. (3) The work-related factors associated with work efficiency that were rated as “very important” were administrative policies and work environment. The factors that were rated as “medium important” were advancement at work and work satisfaction. (4) Comparison of personal factors with work efficiency revealed that there was no relationship between work efficiency and the factors of sex, educational level, work position and years working at the cooperative. However, there was a statistically significant relationship between work efficiency and the factors of age and salary. (5) Comparing work-related factors with work efficiency, it was found that work efficiency was not related to the factors of administrative policies and work environment. However, there was a statistically significant relationship (p> 0.01) between work efficiency and the factors of advancement at work and work satisfaction. (6) The managers’ recommendations for improving their work efficiency were first, to provide more opportunities for additional study, training and seminars for them to improve their work skills, and second, to provide them with more equipment and facilities for their jobs. Some of the managers also recommended that they should be given more suitable employee benefits and that the cooperative committees should set clear and accountable policiesen_US
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
140476.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.92 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons