Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2597
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorส่งเสริม หอมกลิ่น, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorธิดารัตน์ คุ้มภัย-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.date.accessioned2023-01-04T07:53:57Z-
dc.date.available2023-01-04T07:53:57Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2597-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยด้านสังคมและเศรษฐกิจของสมาชิกสหกรณ์ (2) ปัจจัยในการตัดสินใจขายผลผลิตกล้วยหอมทองของสมาชิกให้กับสหกรณ์ (3) ปัญหา และข้อเสนอแนะ ในการขายผลผลิตกล้วยหอมทองของสมาชิกให้กับสหกรณ์การเกษตรบ้านนาสาร จำกัด จังหวัดสุราษฎร์ธานี ประชากรที่ศึกษาคือ สมาชิกสหกรณ์การเกษตรบ้านนาสาร จำกัด ที่ขายผลผลิตกล้วยหอมทอง ให้กับสหกรณ์ โดยศึกษาจากสมาชิกสหกรณ์เฉพาะที่ปลูกกล้วยหอมทองทั้งหมด จำนวน 100 คน เครื่องมือที่ใช้ ในการศึกษา ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ การวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษา พบว่า (1) สมาชิกส่วนใหญ่เป็นเพศชาย ช่วงอายุ 41 – 50 ปี การศึกษาระดับ อนุปริญญา/ปวส. จำนวนแรงงานในครอบครัวที่ช่วยกันทำการเกษตร 3 – 4 คน พื้นที่ปลูกกล้วยหอมทอง (เฉพาะที่เก็บผลผลิตได้) 11 – 15 ไร่ ระยะทางจากสวนกล้วยหอมทองถึงสหกรณ์ 11 – 15 กิโลเมตร รายได้ของ ครอบครัวเฉลี่ยต่อเดือน 20,001 – 30,000 บาท ระยะเวลาการเป็นสมาชิก 11 – 15 ปี และตลาดที่สมาชิกขาย ผลผลิตกล้วยหอมทองเป็นประจำคือขายผลผลิตกล้วยหอมทองให้สหกรณ์ทั้งหมด และทุกรอบการเก็บผลผลิต (2) ปัจจัยในการตัดสินใจขายผลผลิตกล้วยหอมทองของสมาชิกให้กับสหกรณ์การเกษตรบ้านนาสาร จำกัด ได้แก่ ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ปัจจัยด้านราคา ปัจจัยด้านช่องทางการจำหน่าย และปัจจัยด้านการส่งเสริมการตลาด โดยรวมอยู่ในระดับมากทุกปัจจัย (3) ปัญหาและอุปสรรคในการขายผลผลิตกล้วยหอมทอง ได้แก่ การตั้งราคารับ ซื้อที่ไม่เหมาะสม การรับซื้อกล้วยหอมทองไม่เป็นไปตามคุณภาพ และข้อเสนอแนะใน การขายผลผลิตกล้วย หอมทอง ได้แก่ การให้ความช่วยเหลือด้านเงินทุนแก่สมาชิก การให้ความรู้ด้านวิชาการแก่สมาชิก และการรับซื้อ ผลผลิตกล้วยหอมทองที่ผลิตได้ทั้งหมดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectกล้วย--การขายth_TH
dc.subjectการตัดสินใจth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สหกรณ์th_TH
dc.titleปัจจัยในการตัดสินใจขายผลผลิตกล้วยหอมทองของสมาชิกให้กับสหกรณ์การเกษตรบ้านนาสาร จำกัด จังหวัดสุราษฎร์ธานีth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting members' decisions to sell Hom Thong Bananas to Ban Nasan Agricultural Cooperative Limited in Surat Thani Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สหกรณ์)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study ( 1 ) the socio-economic factors of members of Ban Nasan Agricultural Cooperative Limited; (2 ) the factors that affect their decision to sell the ‘Hom Thong’ bananas they grow to the cooperative; (3) related problems and suggestions. The sample population consisted of 100 members of Ban Nasan Agricultural Cooperative Limited in Surat Thani Province, who grew ‘Hom Thong’ bananas. Data were collected using a questionnaire and statistically analyzed to find frequency, percentage, mean, and standard deviation, as well as by content analysis. The results showed that ( 1 ) the majority of samples was male, in the 41-50 age range, educated to the level of diploma or vocational certificate, with 3-4 family members working on the farm. They produced ‘Hom Thong’ Bananas on 11- 15 rais (1 rai = 1,600 m2 ) and their farms were located 11-15 km. from the cooperative. They reported household income of 20,001 – 30,000 baht a month and had been members of the cooperative for 11 – 15 years. The members surveyed sold all their bananas to the cooperative every time they harvested. ( 2 ) Marketing mix factors that had affected the members’ decision to sell their bananas to the cooperative at a high level were the factors of product, price, place, and promotion. ( 3 ) The problems mentioned by the members were that the buying price for bananas was not appropriate and that it did not take into account the quality of the bananas. They suggested that the cooperative should help provide production capital for the members, should provide more academic knowledge for the members and should buy all the ‘Hom Thong’ bananas that they can produceen_US
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
146262.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.36 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons