Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/259
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สราวุธ ปิติยาศักดิ์ | th_TH |
dc.contributor.author | มณฑิรา แก้วตา, 2529- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-05T06:55:54Z | - |
dc.date.available | 2022-08-05T06:55:54Z | - |
dc.date.issued | 2558 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/259 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (น.ม. (กฎหมายธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 255 | th_TH |
dc.description.abstract | การศึกษาปัญหาการบังคับใช้พระราชบัญญัติขายตรงและตลาดแบบตรง พ.ศ. 2545 : ศึกษากรณี การคุ้มครองผู้บริโภคในการซื้อขายสินค้าทางอิเล็กทรอนิกส์หรือตลาดแบบตรง มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษา แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคในการตลาดแบบตรง 2) ศึกษาความหมาย ประเภท และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองผู้บริโภคในการซื้อขายสินค้าทางอิเล็กทรอนิกส์หรือตลาดแบบตรง และกฎหมายต่างประเทศ 3) ศึกษาวิเคราะห์ปัญหาการบังคับใช้พระราชบัญญัติขายตรงและตลาดแบบตรง พ.ศ.2545 และ 4) เสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหาการคุ้มครองผู้บริโภคในการซื้อขายสินค้าทางอิเล็กทรอนิกส์หรือตลาดแบบตรง วิธีการศึกษาวิจัยจะดำเนินการศึกษาค้นคว้าแบบวิจัยเอกสาร โดยเก็บรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องทั้งรูปแบบของหนังสือ บทความ รายงานการวิจัย วิทยานิพนธ์ คำพิพากษาของศาลและตัวบทกฎหมายที่เกี่ยวข้องทั้งประมวลกฎหมายและพระราชบัญญัติ แล้วนำมาวิเคราะห์เปรียบเทียบกฎหมายไทย และกฎหมายต่างประเทศ โดยมุ่งเน้นไปที่การศึกษากรณีการคุ้มครองผู้บริโภคในการซื้อขายสินค้าทางอิเล็กทรอนิกส์หรือตลาดแบบตรง จากการศึกษาพบว่าการคุ้มครองผู้บริโภคในการซื้อขายสินค้าทางอิเล็กทรอนิกส์หรือตลาดแบบ ตรง มีปัญหาที่เกิดขึ้นกับการบังคับใช้พระราชบัญญัติขายตรงและตลาดแบบตรง พ.ศ. 2545 คือ 1) ปัญหาในเรื่อง คำนิยาม เนื่องจากไม่ได้มีการให้คำนิยามเกี่ยวกบผู้ประกอบธุรกิจตลาดแบบตรงไว้โดยเฉพาะจึงเป็นปัญหาในการตีความว่าผู้ประกอบธุรกิจลักษณะใดบ้างที่จะต้องปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ 2) ปัญหาเรื่องการส่งมอบเอกสาร สัญญาซื้อขาย และการกำหนดรายละเอียดของสัญญา โดยพระราชบัญญัตินี้ ไม่ได้มีการกำหนดรายละเอียดของ สัญญาไว้เป็นแนวทางในการปฏิบัติ และไม่ได้กำหนดถึงวิธีการในการส่งมอบเอกสารสัญญาไว้ ทำให้เกิดความได้เปรียบเสียเปรียบระหวางผู้ประกอบธุรกิจและผู้บริโภค 3) ปัญหาการเปลี่ยนสินค้าที่มีความชำรุดบกพร่อง โดยกฎหมายฉบับดังกล่าวไม่ได้มีการกำหนดถึงลักษณะของสินค้าที่มีความชำรุดบกพร่องที่ผู้บริโภคสามารถเปลี่ยนสินค้าได้ในกรณีที่ผู้บริโภคไม่ต้องการคืนสินค้า 4) ปัญหาการบอกเลิกสัญญา การคืนสินค้า และการกาหนด ประเภทสินค้า กฎหมายนี้ยังไม่ได้มีการกาหนดถึงประเภทสินค้าที่จะสามารถคืนได้หรือไมได้ไว้เป็นการเฉพาะ 5) ปัญหาการจดทะเบียนผู้ประกอบธุรกิจตลาดแบบตรง เนื่องจากกฎหมายฉบับดังกล่าวกาหนดให้ผู้ที่จะประกอบธุรกิจตลาดแบบตรงต้องจดทะเบียนต่อสำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค และต้องจดทะเบียนพาณิชย์ ต่อกระทรวงพาณิชย์อีกแห่งด้วย ซึ่งก่อให้เกิดความซ้ำซ้อน ทำ ให้ผู้ประกอบธุรกิจหลีกเลี่ยงที่จะทำการจดทะเบียนดังกล่าว จากประเด็นปัญหาที่พบข้างต้น ผู้ศึกษาจึงได้มีการเสนอแนะแนวทางแก้ไขโดยให้มีการนำกฎหมายของสหภาพยุโรป กฎหมายของประเทศนิวซีแลนด์ กฎหมายของประเทศสิงคโปร์ และกฎหมายของประเทศ สหรัฐอเมริกา มาเป็นแนวทางในการแกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติขายตรงและตลาดแบบตรง พ.ศ. 2545 เพื่อให้สอดรับกบเทคโนโลยีที่มีความเจริญก้าวหน้า อย่างรวดเร็ว | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2015.89 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายธุรกิจ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | พระราชบัญญัติขายตรงและตลาดแบบตรง พ.ศ. 2545 | th_TH |
dc.subject | การคุ้มครองผู้บริโภค--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ | th_TH |
dc.title | ปัญหาการบังคับใช้พระราชบัญญัติขายตรงและตลาดแบบตรง พ.ศ. 2545 : ศึกษากรณีการคุ้มครองผู้บริโภคในการซื้อขายสินค้าทางอิเล็กทรอนิกส์หรือตลาดแบบตรง | th_TH |
dc.title.alternative | Problems of enforcing direct sales and direct marketing Act B.E.2545 : case study of consumer protection in case of e-commerce or Direct Marketing | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2015.89 | - |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This research titled “Problems of Enforcing Direct Sales and Direct Marketing Act B.E.2545: Case Study of Consumer Protection in Case of E-commerce or Direct Marketing” has four main objectives. First, to study the concepts and theories of consumer protection in case of direct marketing. Second, to study the definition, categories and laws relating to consumer protection in case of E-commerce and direct marketing as well as foreign related laws. Third, to study and analyze the problems of the “Enforcing Direct Sales and Direct Marketing Act B.E.2545”. Fourth, to identify some recommendations for consumer protection problems arising from E-commerce and direct marketing. This is a documentary research based on data from books, articles, research reports, thesis, court decisions and related legal provisions both from act and codes. The data acquired is then analyzed with a comparison between Thai and foreign laws. The main focus is on provisions relating to consumer protection in case of E-commerce and direct marketing. The study shows that five major problems arise from enforcement of Direct Sales and Direct Marketing Act B.E.2545. First, the act does not include a definition resulting in a number of confusions: which business type falls into the enforcement of this statute. Second, there are problems of merchandise delivery. This act does not include details of direct sale contract as a guideline for business practice. It is does not mention the delivery methods either. As a result, there are advantages and disadvantages for business operators and consumers. Third, an exchange of defective merchandise is a problem, because there is no provision defining the natures of defective merchandise that a consumer has to right to change. When a consumer does not want to return the goods, he or she cannot exchange it. Fourth, there are problems related to contract rescindment, merchandise return and merchandise categorization. The act does not provide a list of exchangeable and non-exchangeable merchandise. Fifth, there is a problem of directing marketing business operator registration. The act requires a direct marketing business operator to register at the Consumer Protection Office as well as at the Ministry of Commerce. As a result, business operators find that the double registration is burdensome and tend to avoid it. For amendments of Direct Sales and Direct Marketing Act B.E.2545, the researcher recommends an adaptation of related laws from European Union, New Zealand, Singapore and United States of America in order to keep up with the fast dynamic technology | en_US |
dc.contributor.coadvisor | วิมาน กฤติพลวิมาน | th_TH |
Appears in Collections: | Law-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesbib151578.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 26.74 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License