Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2600
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorส่งเสริม หอมกลิ่น, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorธิดารัตน์ ถมมาลี-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.date.accessioned2023-01-04T08:11:29Z-
dc.date.available2023-01-04T08:11:29Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2600-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สภาพการดำเนินธุรกิจจัดหาสินค้ามาจำหน่ายของ สหกรณ์ (2) พฤติกรรมการซื้อสินค้าของสมาชิกสหกรณ์ (3) ระดับปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลในการ ซื้อสินค้าสหกรณ์และ (4) ความสัมพันธ์ของปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อพฤติกรรมการซื้อสินค้าและปัจจัยส่วน ประสมทางการตลาดของสหกรณ์การเกษตรควนโดน จำกัด ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือสมาชิกสหกรณ์การเกษตรควนโดน จำกัด โดยศึกษาจากกลุ่ม ตัวอย่างจำนวน 273 ราย เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และไคว์สแคว์ ผลการศึกษาพบว่า (1) สภาพการดำเนินธุรกิจจัดหาสินค้ามาจำหน่ายของสหกรณ์ปี 2554 การจัด จำหน่ายปุ๋ย วัสดุการเกษตร เคมีการเกษตร มีผลการดำเนินงานสูงกว่าแผนงาน ส่วนปี 2555 และ ปี 2556 มีผล การดำเนินงานต่ำกว่าแผนงาน (2) พฤติกรรมการซื้อสินค้าของสหกรณ์มากที่สุดในแต่ละครั้ง คือ ซื้อปุ๋ย ปริมาณ 1,001-5,000 บาท วัสดุการเกษตรปริมาณ ต่ำกว่า 501 บาท เคมีการเกษตรปริมาณ 501-1,000. บาท ความถี่ใน การซื้อปุ๋ยวัสดุการเกษตรเคมีการเกษตร 1-2 ครั้งต่อปี (3) ระดับปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการ ซื้อสินค้าของสมาชิกสหกรณ์โดยร่วมอยูในระดับ มากได้แก่ ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านราคา ด้านการจัด จำหน่าย และด้านผลิตภัณฑ์ของสหกรณ์ ตามลำดับ (4) ความสัมพันธ์ของปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อพฤติกรรม การซื้อสินค้าของสหกรณ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ พบว่า เพศ ระยะเวลาการเป็นสมาชิก มีผลต่อความถี่ในการ ซื้อปุ๋ยวัสดุการเกษตร และเคมีการเกษตรแต่ละครั้ง ระดับการศึกษา มีผลต่อปริมาณในการซื้อปุ๋ย และวัสดุ การเกษตรแต่ละครั้ง รายได้ของครอบครัวต่อเดือนมีผลต่อปริมาณและความถี่ในการซื้อเคมีการเกษตรแต่ละครั้ง ความสัมพันธ์ของปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดของสหกรณ์ อย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติพบว่า เพศ มีความสัมพันธ์กับปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ของสหกรณ์ ด้านราคา และด้านการส่งเสริมการตลาด อายุ มีความสัมพันธ์กับปัจจัยด้านการจัดจำหน่าย ระดับการศึกษา มีความสัมพันธ์กับปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ของ สหกรณ์ และ ระยะเวลาการเป็นสมาชิก มีความสัมพันธ์กับปัจจัยด้านการส่งเสริมการตลาดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสหกรณ์การเกษตรควนโดน--สมาชิกth_TH
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภค--การตัดสินใจth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สหกรณ์th_TH
dc.titleพฤติกรรมการซื้อสินค้าของสมาชิกสหกรณ์การเกษตรควนโดน จำกัด อำเภอควนโดน จังหวัดสตูลth_TH
dc.title.alternativeThe buying behavior of members of Khuan Don Agricultural Cooperatives, Limited, in Khuan Don District, Satun Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สหกรณ์)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study 1) the conditions of Khuan Don Agricultural Cooperative, Ltd’s business of procuring products for re-sale; 2) the buying behavior of the cooperative’s members; 3) marketing mix factors that affected members’ purchases; and 4) the relationship of members’ personal factors with their buying behavior and marketing mix factors. The study population was the members of Khuan Don Agricultural Cooperatives, Ltd, out of which a sample population 273 were surveyed. Data were collected using a questionnaire and analyzed using frequency, percentage, mean, standard deviation and chi square. The results showed that: 1) In 2011 the cooperatives sold fertilizer, agricultural materials, and agricultural chemicals, and its financial performance was better than projected. In 2012 and 2013 its financial performance was not as good as projected. 2) The amount of money members usually spent in buying things from the cooperatives each time was 1,001-5,000 baht for fertilizer, less than 501 baht for agricultural materials and 501-1,000 baht for agricultural chemicals. They bought these items usually 1 or 2 times a year. 3) Members perceived that all marketing mix factors had a high level of influence on their purchasing decisions, especially promotion, price, place and product in that order. 4) The following statistically significant relationships were identified: the factors of sex and number of years of membership in the cooperative were related to frequency in buying fertilizer, agricultural materials and agricultural chemicals; educational level was related to the amount of fertilizer and agricultural materials purchased each time; household income was related to the frequency and amount of agricultural chemicals purchased each time; sex was related to the marketing mix factors of product, price and promotion; age was related to the marketing mix factor of place; educational level was related to the factor of product; and number of years of membership in the cooperative was related to the factor of promotionen_US
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
140461.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.59 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons