Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2642
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorส่งเสริม หอมกลิ่น, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนฤมล จันทร์แก้ว-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.date.accessioned2023-01-09T04:08:21Z-
dc.date.available2023-01-09T04:08:21Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2642-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยทางเศรษฐกิจ ปัจจัยทางสังคม และปัจจัยด้านสหกรณ์ที่มีต่อการตัดสินใจออมเงินของสมาชิกสหกรณ์ 2) การตัดสินใจออมเงินของสมาชิก สหกรณ์ และ 3) ความสัมพันธ์ของปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยทางเศรษฐกิจ ปัจจัยทางสังคม และปัจจัยด้านสหกรณ์ กับการตัดสินใจออมเงินของสมาชิกสหกรณ์ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสํารวจ ประชากรที่ศึกษา คือ สมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ท้องถิ่น จังหวัดกระบี่ จํากัด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 จํานวน 392 คน กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง จํานวน 198 คน โดยใช้สูตรของยามาเน่ย์ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบไคสแควร์ ผลการศึกษา พบว่า 1) ปัจจัยส่วนบุคคลของสมาชิกสหกรณ์เป็นเพศหญิง ร้อยละ 65.7 อายุ31 - 40 ปี ขึ้นไป ร้อยละ 42.4 จบการศึกษาระดับปริญญาตรี ร้อยละ 62.1 สถานภาพสมรส ร้อยละ 60.2 อาชีพรับ ราชการ ร้อยละ 54.1 ระยะเวลาการเป็นสมาชิกมากกว่า 3 ปี ร้อยละ 36.4 ปัจจัยทางเศรษฐกิจส่วนใหญ่มีรายได้ ของครัวเรือน 15,000 – 20,000 บาทต่อเดือน และ 20,001 – 25,000 บาทต่อเดือน ร้อยละ 24.2 และมีรายจ่ายของ ครัวเรือน 15,000 -20,000 บาทต่อเดือน ร้อยละ 32.3 และปัจจัยทางสังคม ผู้มีเงินได้ในครอบครัวส่วนใหญ่มี 2 คนร้อยละ 63.1 ขนาดของครอบครัว 3 คน ร้อยละ 30.3 และมีเป้าหมายการออมเพื่อผลตอบแทน ร้อยละ 40.4 ปัจจัยด้านสหกรณ์ที่มีต่อการตัดสินใจออมเงินของสมาชิกสหกรณ์ โดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลําดับ คือ สิ่งจูงใจในการออม และ ความพร้อมของสหกรณ์ ตามลําดับ ส่วน การประชาสัมพันธ์อยู่ในระดับน้อย 2) การ ตัดสินใจออมเงินของสมาชิกสหกรณ์มีการออมประเภทเงินฝากออมทรัพย์มากที่สุด ร้อยละ 77.3 ความถี่การ ออมตามความเหมาะสม ร้อยละ 98 จํานวนเงินออมต่อครั้ง 1-2,000 บาท ร้อยละ 81.8 จํานวนเงินออมรวมทั้งหมด ไม่เกิน 50,000 บาท ร้อยละ 60.1 และ 3) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการตัดสินใจออมเงินของสมาชิกอย่างมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 คือ ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพ อาชีพ ระยะเวลาการเป็นสมาชิก จํานวนเงินออมต่อครั้ง ปัจจัยทางเศรษฐกิจได้แก่ รายได้และรายจ่ายของครัวเรือนต่อ เดือน ปัจจัยทางสังคม ได้แก่ จํานวนผู้มีเงินได้ในครอบครัวขนาดของครอบครัว ปัจจัยด้านสหกรณ์ได้แก่ ผลตอบแทน/อัตราดอกเบี้ย สิทธิประโยชน์ทางภาษี ความเป็นเจ้าของสหกรณ์ สถานที่ตั้งของสหกรณ์สะดวกใน การเดินทางมาติดต่อ เจ้าหน้าที่ให้บริการสมาชิกอยางเป็นธรรม การบริการของเจ้าหน้าที่ทําให้สมาชิกเกิดความ พึงพอใจ การให้บริการข้อมูลข่าวสารการรับฝากเงินกับสมาชิก และมีการให้ข้อมูลผ่านเพื่อนสมาชิก/ญาติth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสหกรณ์ออมทรัพย์ท้องถิ่นจังหวัดกระบี่ จำกัด--สมาชิกth_TH
dc.subjectการประหยัดและการออม--ไทย--กระบี่th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สหกรณ์th_TH
dc.titleปัจจัยที่มีต่อการตัดสินใจออมเงินของสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ท้องถิ่นจังหวัดกระบี่ จำกัดth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting the decision making for savings by the members of Krabi Local Saving Cooperatives Limitedth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สหกรณ์)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study 1) the personal factors, economic factors, social factors and cooperative-related factors that affected members’ decisions to deposit savings with Krabi Local Saving Cooperatives Limited; 2) details of the members’ decisions about savings with the cooperative; and 3) the relationships between personal factors, economic factors, social factors and cooperative-related factors with members’ decisions to deposit savings with the cooperatives. This was a survey research. The study population was 392 members of Krabi Local Saving Cooperatives Limited who were registered as of 31 December 2014, out of which a sample population of 198 was selected using the Taro Yamane formula. The tool for data collection was a questionnaire. Statistics used to analyze the data were frequency, percentage, mean, standard deviation, and chi square test. The results showed that 1) 65.7% of the samples were female, 42.4% were in the 31-40 age range, 62.1% were educated to bachelor’s degree level, 60.2% were married, 54.1% were employed in the government sector, and 36.4% had been members of the cooperative for more than 3 years. For economic factors, 24.2% had household income in the 15,000-20,000 baht a month range and 24.2% had household income in the 20,001-25,000 baht a month range. Most (32.2%) had monthly household expenses in the 15,000-20,000 range. For social factors, 63.1% of the members had two income-earners in their families, 30.3% had three family members, and 40.4% said their main objective for saving money was to gain interest. As for cooperative-related factors, in overall, all the factors had a high level of influence, which affected members’ decisions to save money. Rated in order of importance, the factors were incentives to save, and the readiness of the cooperative. The factor of public relations was rated as low importance. 2) 77.3% of the samples saved their money in the form of a savings account; 98% said that, for frequency of deposits, they deposited money when it was appropriate; 81.8% deposited 1-2,000 baht a time; and 60.1% had savings of no more than 50,000 baht. 3) The following factors were related to members’ decisions to save with the cooperative to a statistically significant degree at confidence level 0.05. Personal factors were gender, age, educational level, marital status, occupation, length of time of membership, and amount of deposit each time. Economic factors were household income and expenses. Social factors were number of income-earners in the household and household size. Cooperative-related factors were interest rate, tax benefits, ownership, convenience of location, fairness in serving customers, satisfaction with service, information service about savings accounts, and information passed on by fellow members or relativesen_US
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
151912.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.51 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons