Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2652
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธนรัชฏ ศิริสวัสดิ์ | th_TH |
dc.contributor.author | รอซีดะห์ แวนาเห็ง, 2534- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-01-09T08:02:51Z | - |
dc.date.available | 2023-01-09T08:02:51Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2652 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) สร้างหนังสืออ่านเพิ่มเติม เรื่องนิทานพื้นบ้านจากปลายด้ามขวาน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ และ (2) ประเมินคุณภาพของหนังสืออ่านเพิ่มเติมที่สร้างขึ้น ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 3 คน และนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านลางสาด อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี จำนวน 10 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ (1) หนังสืออ่านเพิ่มเติม เรื่องนิทานพื้นบ้านจากปลายด้ามขวาน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่สร้างขึ้น (2) แบบประเมินคุณภาพหนังสืออ่านเพิ่มเติม และ (3) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนเกี่ยวกับหนังสืออ่านเพิ่มเติม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาค้นคว้ามีดังนี้ (1) หนังสืออ่านเพิ่มเติม เรื่อง นิทานพื้นบ้านจากปลายด้ามขวาน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ประกอบด้วย นิทานพื้นบ้านของสามจังหวัดชายแดนใต้ ได้แก่ ปัตตานี ยะลา นราธิวาส จำนวน 27 เรื่อง แต่ละเรื่องมีภาพประกอบ การอธิบายคำศัพท์ คำถามท้ายเรื่อง และกิจกรรมเสนอแนะ และ (2) ผลการประเมินคุณภาพหนังสืออ่านเพิ่มเติมที่สร้างขึ้น พบว่าผู้ทรงคุณวุฒิมีความเห็นว่าหนังสืออ่านเพิ่มเติมมีความเหมาะสมในระดับมาก และนักเรียนมีความคิดเห็นว่าหนังสืออ่านเพิ่มเติมมีความเหมาะสมในระดับมากที่สุด | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | หนังสือเสริมประสบการณ์ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอน | th_TH |
dc.title | การสร้างหนังสืออ่านเพิ่มเติม เรื่อง นิทานพื้นบ้านจากปลายด้ามขวาน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ | th_TH |
dc.title.alternative | Construction of a supplementary reading entitled Folk Tales from the Handle Tip of the Asce for Prathom Suksa VI students in the three Southern border Provinces | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were (1) to construct a supplementary reading entitled Folk Tales from the Handle Tip of the Asce for Prathom Suksa VI students in the three Southern border provinces; and (2) to evaluate quality of the developed supplementary reading.The research informants were three experts, and 10 Prathom Suksa VI students of Ban Langsat School, Mayo District, Pattani Province. The employed research instruments were (1) the developed supplementary reading entitled Folk Tales from the Handle Tip of the Asce for Prathom Suksa VI students, (2) a quality assessment form, and (3) a questionnaire on student’s opinions toward the supplementary reading. Statistics employed for data analysis were the mean, and standard deviation. Research results were that (1) the developed supplementary reading entitled Folk Tales from the Handle Tip of the Asce for Prathom Suksa VI students comprised 27 folk tales of the three Southern border provinces of Pattani, Yala, and Narathiwat; each tale had illustration and end-of-tale activities; and (2) results of quality evaluation by the experts showed that the supplementary reading as a whole was appropriate at the high level, and the students had opinions that the supplementary reading as a whole was appropriate at the highest level. | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
160967_fulltext.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 19.43 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License