Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2684
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พอพันธ์ อุยยานนท์ | th_TH |
dc.contributor.author | สายสมร ทองอยู่, 2522- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-01-13T06:52:56Z | - |
dc.date.available | 2023-01-13T06:52:56Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2684 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาภูมิหลังทางสังคมและเศรษฐกิจของผู้มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐในจังหวัดลำปาง 2) เพื่อศึกษาค่าความโน้มเอียงหน่วยสุดท้ายในการบริโภค และตัวทวีที่ส่งผลต่อการเพิ่มขึ้นของรายได้ของผู้มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐในจังหวัดลำปาง และ 3) เพื่อศึกษา นโยบายการให้ความช่วยเหลือและมาตรการต่าง ๆ ของรัฐบาลประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ ผู้มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐตามโครงการลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐปี 2560 จังหวัดลำปาง จำนวน 238,371 คน ผู้วิจัยได้เก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างโดยใช้แบบสอบถาม จำนวน 400 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ การวิเคราะห์ การถดถอยอย่างง่าย ผลการศึกษาพบว่า 1) ผู้มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐจังหวัดลำปาง ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงคิดเป็นร้อยละ 54.50 มีสภาพร่างกายปกติ คิดเป็นร้อยละ 94.50 เป็นวัยทำงาน (อายุระหว่าง21-60 ปี) คิดเป็นร้อยละ 73.50 มีระดับการศึกษาสูงกว่าการศึกษาภาคบังคับ (สูงกว่ามัธยมศึกษาตอนต้น) มีอาชีพเกษตรกร คิดเป็นร้อยละ 66.50 มีสินทรัพย์ ได้แก่ บ้าน ที่อยู่อาศัย และที่ดินเป็นของตนเอง คิดเป็นร้อยละ 54.50 มีหนี้สิน คิดเป็นร้อยละ 56.50 มีรายได้ได้เฉลี่ยต่อเดือน 5,280.33 บาท และมีค่าใช้จ่ายต่อเดือน 5,003.15 บาท 2) ค่าความโน้มเอียงค่าความโน้มเอียงหน่วยสุดท้ายในการบริโภค เท่ากับ 0.93 ค่าตัวทวี เท่ากับ 14.28 3) รัฐบาลควรกำหนดนโยบายการให้ความช่วยเหลือทั้งในระยะสั้นและระยะยาว เช่น ส่งเสริมการ ฝึกอาชีพ เพื่อให้ผู้มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐสามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกเศรษฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | รัฐสวัสดิการ | th_TH |
dc.subject | สังคมสงเคราะห์ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--เศรษฐศาสตร์ | th_TH |
dc.title | การศึกษาความโน้มเอียงของการบริโภคหน่วยสุดท้ายของผู้มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐในจังหวัดลำปาง | th_TH |
dc.title.alternative | Marginal propensity consumption of state welfare cardholder in Lampang Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were 1) to study the socio-economic ackground of state welfare cardholders in Lampang province 2) to study the marginal propensity consumption and its multiplier increasing incomes of state welfare cardholders in Lampang province, and 3) to study government policies and measures on state welfare project. The study population was 238,371 people who were state welfare cardholders in the state welfare registration project of Lampang province. The study data were collected by questionnaires of 400 sample population. The statistic analyses used in this study were average, percentage and simple regression. The study results found that 1) the sample of state welfare cardholders in Lampang were mostly female as 54.5 %, having good health as 94.50 %, in working ages (between 21-60 years) as 73.50 %, having higher education levels than compulsory education as 66.50%, working as farmers as 54.6 %, having own assets such as houses, residences, and lands as 54.50% and having debts as 56.50%. Further, they had average incomes in 5,280.33 baht per month and average expenses of 5,003.15 baht per month. 2) their marginal propensity consumption was at 0.93 and the multiplier was at 14.28. 3) the government should establish short-term and long-term assistance policies such as promoting vocational training so the sample population who were state welfare cardholders would be self-reliant sustainably. | en_US |
Appears in Collections: | Econ-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
161546.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 2.75 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License