Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2703
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอภิญญา วนเศรษฐth_TH
dc.contributor.authorสุชัญญา หยูคล้าย, 2513-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-01-16T03:26:30Z-
dc.date.available2023-01-16T03:26:30Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2703en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระบบการเงินระหว่างประเทศและอัตรา แลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศของไทย 2) ศึกษาปัจจัยสำคัญในการกำหนดอัตราแลกเปลี่ยนระหว่างเงินบาทกับเงินเยนญี่ปุ่น 3) วิเคราะห์ถึงดุลยภาพของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศระหว่างเงินบาทกับเงินเยนวิธีการศึกษาใช้มูลอนุกรมเวลารายไตรมาส โดยเริ่มตั้งแต่เดือนมกราคม ปี พ.ศ. 2543 –เดือนธันวาคม พ.ศ. 2553 เป็นเวลาระยะเวลา 44 ไตรมาส แบ่งการศึกษาออกเป็น 2 วิธี คือ 1) การวิเคราะห์เชิงพรรณา ศึกษาถึงวิวัฒนาการของระบบการเงินระหว่างประเทศ และวิวัฒนาการของระบบอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศของไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน และ 2) การวิเคราะห์เชิงปริมาณโดยนำข้อมูลสำคัญทางเศรษฐกิจมาทดสอบหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่กำหนดอัตราแลกเปลี่ยนของเงินบาทและเงินเยนภายใต้แนวคิด Portfolio Balance Approach โดยวิธี Cointegration และการประมาณค่าแบบจำลองโดยใช้วิธี Error Correction Model จากผลการศึกษาพบว่า 1) ระบบอัตราแลกเปลี่ยนของโลกเริ่มจากการใช้มาตรฐาน ทองคำในการกำหนดอัตราแลกเปลี่ยน ต่อมาประเทศต่างๆ มีพัฒนาการไปใช้ระบบอัตราแลกเปลี่ยนที่ความยืดหยุ่นมากขึ้น เช่น ระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัวและแบบลอยตัวแบบมี การจัดการ สำหรับประเทศไทยก็เริ่มจากการแบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบคงที่ และปัจจุบันประเทศไทยใช้ระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัวแบบมีการจัดการ 2) ปัจจัยสำคัญในการกำหนดอัตราแลกเปลี่ยนระหว่างเงินบาทกับเงินเยน ได้แก่ ปริมาณเงินโดยเปรียบเทียบระหว่างประเทศไทยกับประเทศญี่ปุ่น การคาดการณ์ดัชนีราคาผู้บริโภคระหว่างประเทศไทยกับประเทศญี่ปุ่น ปริมาณ ความต้องการถือครองพันธบัตรในประเทศไทยกับประเทศญี่ปุ่นมีความสัมพันธ์ทางเดียวกับอัตราแลกเปลี่ยนส่วนรายได้ที่แท้จริงของประเทศไทยกับประเทศญี่ปุ่น ส่วนต่างอัตราดอกเบี้ยของไทยกับประเทศญี่ปุ่นมีความสัมพันธ์ในทิศทางตรงกันข้ามกับอัตราแลกเปลี่ยนเงินซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานตามแบบจำลองตามแนวคิดทางการเงิน Portfolio Balance Approach 3) ตัวแปรข้างต้นมีความสัมพันธ์ในเชิงดุลยภาพระยะยาว และมีกลไกการปรับตัวในระยะสั้นเมื่อมีการเบี่ยงเบนออกจากดุลยภาพth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเศรษฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectปริวรรตเงินตราth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เศรษฐศาสตร์th_TH
dc.titleปัจจัยกำหนดอัตราแลกเปลี่ยนระหว่างค่าเงินบาทกับเงินเยนญี่ปุ่นth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting of Bath-Yen exchange rateen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
125641.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.54 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons